หน้าหลัก
ทำเนียบผู้ประกอบการ
ข้อมูลงานวิจัย
งานวิจัยจากส่วนกลาง
งานวิจัยระดับท้องถิ่น
เทคโนโลยีที่ใช้ในการผลิต
งานวิจัยจากส่วนกลาง กลุ่มอุตสาหกรรมพลาสติกชีวภาพ (Bioplastics)
Home
Bio-Plastics
งานวิจัยจากส่วนกลาง
Bioplastics Research Services ?
ผลงานวิจัยจากส่วนกลาง กลุ่มอุตสาหกรรมพลาสติกชีวภาพ (Bioplastics)
5 อันดับผลงานล่าสุด
ที่ถูกอัพเดทในฐานข้อมูล
การใช้ประโยชน์จากวัสดุเหลือทิ้งลิกโนเซลลูโลสสำหรับผลิตพอลิไฮดรอก ซีอัลคาโนเอต
: 1. จิตพร โพธิ์ปัญญาศักดิ์ 2. ธวัชชัย ศุภดิษฐ์ 3. สาวิตรี วทัญญูไพศาล
Views: 244
: 15 สิงหาคม 2566 14:06:17
ด้วยคุณสมบัติทางเคมีและทางกายภาพที่โดดเด่นของพลาสติกชีวภาพชนิดพอลิ ไฮดรอกซีอัลคาโนเอตทำให้ได้รับความสนใจในการนำไปใช้เป็นวัสดุทางเลือกเพื่อ ทดแทนพลาสติกสังเคราะห์ในหลากหลายด้าน อย่างไรก็ตาม พอลิไฮดรอกซีอัลคาโน- เอตยังไม่สามารถทดแทนพลาสติกสังเคราะห์ได้มากนัก เนื่องจากมีอัตราการผลิตต่ำ และต้นทุนการผลิตสูงทำให้พอลิไฮดรอกซีอัลคาโนเอตมีราคาสูงตามไปด้วย ซึ่งต้นทุน การผลิตพอลิไฮดรอกซีอัลคาโนเอตส่วนใหญ่มาจากแหล่งคาร์บอนที่ใช้เป็นสารตั้งต้น ในการผลิต เพื่อเป็นการลดต้นทุนการผลิตและเป็นการจัดการขยะ ได้มีการนำของเสีย หรือผลิตภัณฑ์พลอยได้จากอุตสาหกรรมต่าง ๆ มาใช้เป็นแหล่งคาร์บอน วัสดุเหลือทิ้ง ลิกโนเซลลูโลสเป็นวัตถุดิบที่น่าสนใจ เนื่องจากมีปริมาณมากราคาถูก และเป็นวัสดุที่ สามารถทดแทนใหม่ได้ ทั้งนี้การนำวัสดุเหลือทิ้งลิกโนเซลลูโลสมาใช้นั้นต้องมี กระบวนการในการเปลี่ยนวัสดุเหลือทิ้งลิกโนเซลลูโลสให้เป็นแหล่งคาร์บอนซึ่ง ประกอบด้วยการปรับสภาพ การย่อยสลายวัสดุเหลือทิ้งลิกโนเซลลูโลส และการกำจัด สารยับยั้ง บทความนี้จะกล่าวถึงวิธีการปรับสภาพ การย่อยสลาย การกำจัดสารยับยั้ง หลักการเบื้องต้นของกระบวนการผลิตไฮดรอกซีอัลคาโนเอตโดยวิถีเมแทบอลิซึมของ แบคทีเรีย และการใช้วัสดุเหลือทิ้งลิกโนเซลลูโลสในการผลิตพอลิไฮดรอกซีอัลคาโน- เอตเพื่อเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาการผลิตพอลิไฮดรอกซีอัลคาโนเอตจากวัสดุเหลือ ทิ้งลิกโนเซลลูโลสและนำไปสู่การผลิตพลาสติกชีวภาพที่มีคุณภาพและยั่งยืนในอนาคต ต่อไป....
อ่านต่อ
การย่อยสลายทางชีวภาพของแผ่นพลาสติกชีวภาพจากแป้งมันสำปะหลังและแป้งสาคู
: ชนกชนม์ แสงจันทร์ พลพัฒน์ รวมเจริญ และสุชีวรรณ ยอยรู้รอบ
Views: 263
: 15 สิงหาคม 2566 13:43:23
งานวิจัยนี้มุ่งเน้นศึกษาการย่อยสลายทางชีวภาพของแผ่นพลาสติกชีวภาพจากแป้งมันสำปะหลังและแป้งสาคู มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระยะเวลาในการย่อยสลายและศึกษาหาปริมาณคาร์บอนไดออกไซด์จากการย่อยสลายทางชีวภาพของแผ่นพลาสติกชีวภาพ ซึ่งได้เตรียมแผ่นพลาสติกชีวภาพในรูปแผ่นฟิล์มโดยใช้เทคนิคสารละลาย ติดตามประสิทธิภาพการย่อยสลายทางชีวภาพกับเวลาและระดับการย่อยสลาย และอัตราการย่อยสลายทางชีวภาพแบบใช้ออกซิเจนในระบบปิดภายใต้สภาพแวดล้อมที่ดัดแปลงจาก ASTM D5538–98 ที่มีการควบคุมด้วยปุ๋ยหมักจุลินทรีย์ จากการศึกษาพบว่าแผ่นพลา ....
อ่านต่อ
การสกัดเซลลูโลสจากวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรด้วย คลื่นไมโครเวฟเพื่อใช้ เป็นวัสดุดูดซับสีย้อม
: ภริตา ตัณท์เอกชน
Views: 214
: 15 สิงหาคม 2566 13:34:19
การสกัดเซลลูโลสจากวัสดุเหลือทิ้งจากการเกษตร 3 ชนิด ได้แก่ ฟางข้าว ขุยมะพร้าวและเปลือกข้าวโพด โดยกระบวนการไฮโดรไลซิสด้วยเบสที่มีการให้ความร้อนด้วยคลื่นไมโครเวฟที่ความเข้มข้นของโซเดียมไฮดรอกไซด์ร้อยละ 5, 7.5 และ 10 โดยน้ำหนัก และนำมาฟอกขาวเพิ่มด้วยไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ที่ความเข้มข้นร้อยละ 30 โดยน้ำหนักต่อปริมาตร พบว่าที่ความเข้มข้นของโซเดียมไฮดรอกไซต์ ร้อยละ 5 โดยน้ำหนักและนำมาฟอกขาวเพิ่มด้วยไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์สามารถ กำจัดลิกนินและองค์ประกอบอื่น ๆ ได้ดีและให้เซลลูโลสที่มีความเป็นผลึกและบริสุทธิ์ส ....
อ่านต่อ
การใช้ประโยชน์จากวัสดุเหลือทิ้งลิกโนเซลลูโลสสำหรับผลิตพอลิไฮดรอกซีอัลคาโนเอต (The utilization of lignocellulosic biomass waste for production of Polyhydroxyalkanoates.)
: จิตพร โพธิ์ปัญญาศักดิ์ ธวัชชัย ศุภดิษฐ์ และ สาวิตรี วทัญญูไพศาล
Views: 168
: 15 สิงหาคม 2566 13:31:54
ด้วยคุณสมบัติทางเคมีและทางกายภาพที่โดดเด่นของพลาสติกชีวภาพชนิด พอลิไฮดรอกซีอัลคาโนเอตทำให้ได้รับความสนใจในการนำไปใช้เป็นวัสดุทางเลือกเพื่อทดแทนพลาสติกสังเคราะห์ในหลากหลายด้าน อย่างไรก็ตาม พอลิไฮดรอกซีอัล-คาโนเอตยังไม่สามารถทดแทนพลาสติกสังเคราะห์ได้มากนัก เนื่องจากมีอัตราการผลิตต่ำ และต้นทุนการผลิตสูงทำให้พอลิไฮดรอกซีอัลคาโนเอตมีราคาสูงตามไปด้วย ซึ่งต้นทุนการผลิตพอลิไฮดรอกซีอัลคาโนเอตส่วนใหญ่มาจากแหล่งคาร์บอนที่ใช้เป็นสารตั้งต้นในการผลิต เพื่อเป็นการลดต้นทุนการผลิตและเป็นการจัดการขยะ ได้มีการนำขอ ....
อ่านต่อ
การย่อยสลายทางชีวภาพของแผ่นพลาสติกชีวภาพจากแป้งมันสำปะหลังและแป้งสาคู
: ชนกชนม์ แสงจันทร์ พลพัฒน์ รวมเจริญ และสุชีวรรณ ยอยรู้รอบ
Views: 234
: 11 มิถุนายน 2566 19:56:46
งานวิจัยนี้มุ่งเน้นศึกษาการย่อยสลายทางชีวภาพของแผ่นพลาสติกชีวภาพจากแป้งมันสำปะหลังและแป้งสาคู มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระยะเวลาในการย่อยสลายและศึกษาหาปริมาณคาร์บอนไดออกไซด์จากการย่อยสลายทางชีวภาพของแผ่นพลาสติกชีวภาพ ซึ่งได้เตรียมแผ่นพลาสติกชีวภาพในรูปแผ่นฟิล์มโดยใช้เทคนิคสารละลาย ติดตามประสิทธิภาพการย่อยสลายทางชีวภาพกับเวลาและระดับการย่อยสลาย และอัตราการย่อยสลายทางชีวภาพแบบใช้ออกซิเจนในระบบปิดภายใต้สภาพแวดล้อมที่ดัดแปลงจาก ASTM D5538–98 ที่มีการควบคุมด้วยปุ๋ยหมักจุลินทรีย์ จากการศึกษาพบว่าแผ่นพลา ....
อ่านต่อ
Displaying all of Bioplastics Research
Loading...