หน้าหลัก
บริการข้อมูล
นำเข้าส่ง - ส่งออก
อุตสาหกรรมพลาสติกชีวภาพ
อุตสาหกรรมเคมีชีวภาพ
อุตสาหกรรมชีวเภสัชภัณฑ์
ห้องปฏิบัติการ
กฎ ระเบียบ มาตรการและนโยบาย
กฎ ระเบียบ
นโยบาย มาตรการ
มาตรฐานผลิตภัณฑ์ชีวภาพ
ข่าวสารเคลื่อนไหวในอุตสาหกรรมชีวภาพ
บทวิเคราะห์
Value Chain
อ้อย
มันสำปะหลัง
ปาล์มน้ำมัน
ข้าว
ข้าวโพด
กัญชาและกัญชง
สับปะรด
กาแฟ
โกโก้
Supply Chain
การศึกษาห่วงโซ่อุปทานของผลิตภัณฑ์พลาสติกชีวภาพ
พอลิแลคติคแอซิด (PLA)
TPS
พอลิไฮดรอกซีอัลคาโนเอท (Polyhydroxyalkanoates หรือ PHAs)
พอลิบิวทิลีนอะดิเพทเทเรฟทาเลท (Polybutylene Adipate Terephthalate หรือ เรียกโดยย่อว่า PBAT)
การศึกษาห่วงโซ่อุปทานของผลิตภัณฑ์เคมีชีวภาพ
กรดอะมิโน
กรดอินทรีย์
เอนไซม์ (Enzyme)
การศึกษาห่วงโซ่อุปทานของผลิตภัณฑ์ชีวเภสัชภัณฑ์
วัคซีน
Monoclonal Antibody
Recombinant Hormones
ยาปฏิชีวนะ (antibiotic)
บทวิเคราะห์เชิงลึก
บทวิเคราะห์เชิงลึกเรื่อง การศึกษายุทธศาสตร์
บทวิเคราะห์เชิงลึก “แนวทางการส่งเสริมอุตสาหกรรมเทคโนโลยีชีวภาพไทย เตรียมพร้อมสู่การเป็นศูนย์กลางอุตสาหกรรมชีวภาพของอาเซียน”
บทวิเคราะห์เชิงลึก การศึกษาและวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์ชีวภาพที่มีความต้องการสูงในตลาดเอเชียและการส่งเสริมการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชีวภาพที่สอดรับกับความต้องการของตลาด
บทวิเคราะห์เชิงลึก การศึกษาข้อมูลการประเมินวัฏจักรชีวิตและการปล่อยก๊าซเรือนกระจกของผลิตภัณฑ์ชีวภาพเพื่อวางแนวทางการปรับปรุงการผลิตผลิตภัณฑ์ชีวภาพให้บรรลุตามเป้าหมาย ‘Net Zero’
บทวิเคราะห์เชิงลึกการเจาะตลาดอุตสาหกรรมพลาสติกชีวภาพสู่การรับรองผลิตภัณฑ์ฮาลาลของประเทศมุสลิมในอาเซียน
Green Tax Expense Approval Report
สมัครสมาชิก
เข้าสู่ระบบ
Bio Innovation Linkage
Home
Bio Innovation Linkage
ลงทะเบียน Bio Label
เข้าสู่ระบบ Bio Label
ศูนย์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมชีวภาพ (Bio Innovation Linkage)
Bio-Plastics
อุตสาหกรรมพลาสติกชีวภาพ
เทคโนโลยีการผลิต
ผลงานวิจัย นักวิจัย/หน่วยงานวิจัย
ผู้ประกอบการในอุตสาหกรรม
อื่นๆ
Views:
2326
เข้าสู่อุตสาหกรรมพลาสติกชีวภาพ
Bio-Chemicals
อุตสาหกรรมเคมีชีวภาพ
เทคโนโลยีการผลิต
ผลงานวิจัย นักวิจัย/หน่วยงานวิจัย
ผู้ประกอบการในอุตสาหกรรม
อื่นๆ
Views:
1727
เข้าสู่อุตสาหกรรมเคมีชีวภาพ
Bio-Pharmaceuticals
อุตสาหกรรมชีวเภสัชภัณฑ์
เทคโนโลยีการผลิต
ผลงานวิจัย นักวิจัย/หน่วยงานวิจัย
ผู้ประกอบการในอุตสาหกรรม
อื่นๆ
Views:
1634
เข้าสู่อุตสาหกรรมชีวเภสัชภัณฑ์
ข่าวสารเคลื่อนไหวในอุตสาหกรรมชีวภาพ
“พลาสติกชนิดใหม่” ที่สามารถรีไซเคิลและย่อยสลายได้ในน้ำทะเลอย่างสมบูรณ์
Sources:
Bioplasticsmagazine
Date:
11 ธันวาคม 2567 15:03:44
20
Views
นักวิจัยจากประเทศญี่ปุ่น นำทีมโดย ทาคุโซ ไอดะ จาก RIKEN Center for Emergent Matter Science ได้พัฒนาพลาสติกที่มีความแข็งแรง ทนทาน สามารถนำไปใช้งานได้หลากหลาย และที่สำคัญสามารถย่อยสลายอย่างสมบูรณ์ได้ในน้ำทะเซึ่งจะไม่ก่อให้เกิดมลภาวะไมโครพลาสติกในมหาสมุทร
Read More...
ขยายขอบเขตการใช้งานของคอมโพสิตโพลีเมอร์ชีวภาพ
Sources:
bioplasticsmagazine
Date:
14 สิงหาคม 2567 10:42:20
73
Views
Polytives (Rudolstadt, Germany) ประกาศความร่วมมือกับกลุ่มบริษัท Holzmühle Westerkamp (Visbek, Germany) ในการพัฒนาคอมโพสิตโพลีเมอร์ชีวภาพ ภายใต้แบรนด์ Arweco ซึ่งผลิตวัสดุพลาสติกชีวภาพจากเส้นใยธรรมชาติ
Read More...
Braskem และ TNO ร่วมมือกันในโครงการรีไซเคิล
Sources:
bioplasticsmagazine
Date:
14 สิงหาคม 2567 10:42:15
89
Views
Braskem ได้ประกาศความร่วมมือกับ TNO เพื่อพัฒนาเทคโนโลยีการรีไซเคิลพลาสติกที่ใช้การละลาย ซึ่งจะช่วยปรับปรุงการรีไซเคิลของพลาสติกและทำให้สามารถผลิตเรซินพลาสติกที่มีคุณภาพสูง โครงการนี้มุ่งเป้าหมายในการลดมลพิษจากพลาสติกและส่งเสริมการรีไซเคิลอย่างยั่งยืน โดย Braskem และ TNO ตั้งใจที่จะสร้างนวัตกรรมที่สามารถนำไปใช้ได้จริงและมีผลดีต่อสิ่งแวดล้อม
Read More...
PLA toxicity meta-study key findings
Sources:
bioplasticsmagazine
Date:
14 สิงหาคม 2567 10:42:06
69
Views
การศึกษา HYDRA Marine Sciences (Germany) พบว่า PLA หรือโพลีแลคติคแอซิดมีคุณสมบัติไฮโดรไลซิส ทำให้สลายตัวได้ในสภาพแวดล้อมที่มีน้ำ
Read More...
ผลิตภัณฑ์เส้นใยคุณภาพสูงจากวัสดุ PCR
Sources:
bioplasticsmagazine
Date:
14 สิงหาคม 2567 10:44:08
84
Views
PureCycle Technologies ประสบความสำเร็จในการทดลองผลิตสินค้ากับ MiniFIBERS และ Beverly Knits โดยใช้เรซินที่ผลิตจากวัสดุรีไซเคิล (PCR) ผลิตภัณฑ์ที่ได้มีคุณภาพสูงและเหมาะสมกับการใช้งานในหลายอุตสาหกรรม เช่น ของใช้ในบ้าน รถยนต์ อุตสาหกรรม และเสื้อผ้า
Read More...
พื้น ‘สีเขียว’ แทนที่เหล็ก
Sources:
bioplasticsmagazine
Date:
14 สิงหาคม 2567 10:41:54
67
Views
นักวิจัยจากห้องปฏิบัติการแห่งชาติโอ๊คริจและมหาวิทยาลัยเมนได้ออกแบบและพิมพ์ 3 มิติแผ่นพื้นวัสดุธรรมชาติที่สามารถนำกลับมาใช้ใหม่ได้ แผ่นพื้นมีความแข็งแรงพอที่จะแทนวัสดุก่อสร้างเช่นเหล็กได้
Read More...
นวัตกรรมวัสดุฟิล์มพลาสติกที่มีความยืดหยุ่นจาก PLA
Sources:
bioplasticsmagazine
Date:
05 สิงหาคม 2567 09:33:09
101
Views
ทีมจากสถาบันวิจัยโพลิเมอร์ประยุกต์ Fraunhofer IAP ได้พัฒนาวัสดุฟิล์มพลาสติกยืดหยุ่นและนำกลับมาใช้ใหม่ได้จากพอลิแลคไทด์ (PLA) โดยการเชื่อมพลาสติไซเซอร์ polyethers กับสายโพลิเมอร์โดยตรง ทำให้วัสดุนี้ยืดหยุ่นในระยะยาวและเป็นชีวภาพอย่างน้อย 80%
Read More...
วว. และไลอ้อนประเทศไทย เพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์สมุนไพร จังหวัดน่าน ด้วยสารสกัดตรีผลาเข้มข้น
Sources:
thaipr
Date:
05 สิงหาคม 2567 09:32:57
106
Views
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดย สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.) จับมือ บริษัท ไลอ้อน (ประเทศไทย) จำกัด ร่วมวิจัยและพัฒนาเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์สมุนไพร ตั้งแต่ต้นน้ำจนถึงปลายน้ำ
Read More...
"กรมส่งเสริมการเกษตร" ดันเทคโนโลยีชีวภาพ ย่อยสลายฟางข้าว ลดโลกร้อน
Sources:
thansettakij
Date:
05 สิงหาคม 2567 09:32:48
99
Views
"กรมส่งเสริมการเกษตร" จับมือภาคี เครือข่าย ปลุกเทคโนโลยีชีวภาพ ย่อยสลายฟางข้าว เตรียมนำร่อง 6 จังหวัด ภายในต.ค.นี้ หวังลดโลกร้อน ขยายผลความสำเร็จที่เกิดขึ้นให้ครอบคลุมทุกพื้นที่ สร้างอากาศสะอาด สู่ความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อม ภายใต้แนวคิด 3 เปลี่ยน ตามแนวทางของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
Read More...
Chemical recycling solutions by RAMPF
Sources:
bioplasticsmagazine
Date:
05 สิงหาคม 2567 09:32:41
72
Views
Rampf เริ่มรีไซเคิล PU ตั้งแต่ปี 1992 โดยใช้กระบวนการ solvolysis และแปรรูปเศษโฟม PU และ PET หลังใช้งานเป็นโพลิออลรีไซเคิลคุณภาพสูง ใช้ในอุตสาหกรรมต่างๆ เช่น ยานยนต์ การบิน ก่อสร้าง และเครื่องใช้ในครัวเรือน
Read More...
ร้านค้าออนไลน์แห่งแรกที่จำหน่ายผลิตภัณฑ์ PHA
Sources:
bioplasticsmagazine
Date:
05 สิงหาคม 2567 09:37:22
84
Views
Helian Polymers จากเนเธอร์แลนด์ได้เปิดตัวร้านค้าออนไลน์สำหรับ PHAs วัสดุที่ยั่งยืนแทนพลาสติกจากปิโตรเลียม ร้านค้าออนไลน์นี้มี PHAs จากผู้ผลิตหลายรายในรูปแบบต่างๆ เช่น เม็ด ผง สารเติมแต่ง พร้อมข้อมูลสเปกและการรับรองสินค้าที่ผ่านการทดสอบ
Read More...
'พลาสติกย่อยสลายได้เอง' ทางออกใหม่ ลดขยะพลาสติกล้นโลก
Sources:
thansettakij
Date:
23 กรกฎาคม 2567 15:53:33
73
Views
นักวิจัยจากมหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย ซานดิเอโกได้พัฒนา "พลาสติกที่ย่อยได้เอง" ซึ่งสามารถช่วยลดมลพิษและปริมาณขยะพลาสติกได้ โดยพัฒนาพลาสติกโพลียูรีเทนชนิดพิเศษที่มีสปอร์ของแบคทีเรีย "Bacillus Subtilis" ผสมอยู่ภายใน ทำให้พลาสติกนี้สามารถย่อยสลายตัวเองได้เมื่อหมดอายุการใช้งานและกลายเป็นปุ๋ย
Read More...
Displaying all of Bioplastics News