หน้าหลัก
ทำเนียบผู้ประกอบการ
ข้อมูลงานวิจัย
งานวิจัยจากส่วนกลาง
งานวิจัยระดับท้องถิ่น
เทคโนโลยีที่ใช้ในการผลิต
งานวิจัยจากส่วนกลาง กลุ่มอุตสาหกรรมเคมีชีวภาพ (Biochemicals)
Home
Bio-chemicals
งานวิจัยจากส่วนกลาง
Biochemicals Research Services ?
ผลงานวิจัยจากส่วนกลาง กลุ่มอุตสาหกรรมเคมีชีวภาพ (Biochemicals)
5 อันดับผลงานล่าสุด
ที่ถูกอัพเดทในฐานข้อมูล
การดูดซับฟอร์มัลดีไฮด์ในสารละลายโดยใช้เปลือกไข่ที่ปรับสภาพด้วยเทคโนโลยีพลาสมา (FORMALDEHYDE ADSORPTION IN AQUEOUS SOLUTION USING EGGSHELL TREATED WITH PLASMA TECHNOLOGY)
: ศิรประภาชัยเนตร รุ่งนภา เขียววิจิตร ชาญชัย เดชธรรมรงค์ และครรชิต เงินคาคง
Views: 101
: 8/15/2023 1:50:50 PM
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสิทธิภาพการดูดซับฟอร์มัลดีไฮด์ในสารละลายโดยใช้เปลือกไข่ที่ปรับสภาพด้วยพลาสมาเปรียบเทียบกับการใช้เปลือกไข่ที่ไม่ผ่านการปรับสภาพตามปัจจัยที่มีผลต่อการดูดซับ ได้แก่ ความเข้มข้นของสารละลายฟอร์มัลดีไฮด์เริ่มต้น (10-50 มิลลิกรัมต่อลิตร) ระยะเวลาสัมผัส (5-360 นาที) และขนาดของเปลือกไข่ที่ใช้Sieve no.12, 16 และ 20ซึ่งได้อนุภาคเปลือกไข่ที่มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง≤1.70 มิลลิเมตร, ≤1.18 มิลลิเมตร และ≤0.85 มิลลิเมตรตามล าดับ โดยเป็นการทดลองในระดับห้องปฏิบัติการและเพื่อศึกษาไอโซเทอมการดูดซับของฟอร์มัลดีไฮด์ จากผลการศึกษา พบว่าการปรับสภาพเปลือกไข่ด้วยพลาสมาช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการดูดซับฟอร์มัลดีไฮด์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยปัจจัยที่เหมาะสมในการดูดซับฟอร์มัลดีไฮด์โดยใช้เปลือกไข่ที่ปรับสภาพด้วยพลาสมา คือ ใช้ความเข้มข้นของสารละลายฟอร์มัลดีไฮด์เริ่มต้นเท่ากับ 30 มิลลิกรัมต่อลิตร ที่ระยะเวลาสัมผัส 120 นาที และใช้เปลือกไข่ขนาด Sieve no.16 ซึ่งส่งผลให้มีค่าเฉลี่ยประสิทธิภาพการดูดซับฟอร์มัลดีไฮด์เท่ากับร้อยละ 90.53±0.00 ในขณะที่การใช้เปลือกไข่ที่ไม่ผ่านการปรับสภาพ มีค่าเฉลี่ยประสิทธิภาพการดูดซับฟอร์มัลดี-ไฮด์เท่ากับร้อยละ 56.17±2.34 รวมถึงยังพบว่าไอโซเทอมการดูดซับฟอร์มัลดีไฮด์มีความสอดคล้องกับแลงเมียร์ได้ดีกว่าฟรุนดลิช โดยการใช้เปลือกไข่แบบที่ปรับสภาพด้วยพลาสมาส่งผลให้มีความสามารถสูงสุดในการดูดซับฟอร์มัลดีไฮด์เท่ากับ 18.203 มิลลิกรัมต่อกรัม ซึ่งสูงกว่าการใช้เปลือกไข่ที่ไม่ผ่านการปรับสภาพถึง 3.8 เท่า งานวิจัยนี้แสดงให้เห็นถึงการพัฒนาวิธีการดูดซับฟอร์มัลดีไฮด์โดยใช้เทคโนโลยีขั้นสูงในการปรับสภาพวัสดุดูดซับที่เป็นวัสดุเหลือทิ้งอย่างเปลือกไข่ได้อย่างมีปร....
อ่านต่อ
การศึกษาสภาวะที่เหมาะสมในการผลิตกรดซิตริกจากสับปะรดเหลือทิ้ง โดย Candida metapsilosis CPRU001 ด้วยวิธีการพื้นผิวตอบสนอง
: ศักดิ์ชาย เพ็ชรตรา
Views: 129
: 8/15/2023 1:50:10 PM
วัตถุประสงค์ของการวิจัยนี้เพื่อศึกษาสภาวะที่เหมาะสมในการผลิตกรดซิตริกจากสับปะรดเหลือทิ้งภาคเกษตรกรกรรมโดย Candida metapsilosis CPRU001 โดยใช้การออกแบบการทดลองทางสถิติด้วยวิธีการพื้นผิวตอบสนอง (Response surface methodology, RSM) ในรูปแบบส่วนประสมกลาง (Central Composite Design, CCD) ซึ่งทาการคัดเลือก 3 ปัจจัยที่มีผลต่อการผลิตกรดซิตริก ชึ่งประกอบด้วย 1. ค่าความเป็นกรดด่างเริ่มต้น (Initial pH) ของสับสเตรท 2. ปริมาณยีสต์สกัด (yeast extract) 3. ปริมาณโปแตส เซียมไดไอโดรเจนฟอส ....
อ่านต่อ
การดูดซับฟอร์มัลดีไฮด์ในสารละลายโดยใช้เปลือกไข่ที่ปรับสภาพด้วยเทคโนโลยีพลาสมา (FORMALDEHYDE ADSORPTION IN AQUEOUS SOLUTION USING EGGSHELL TREATED WITH PLASMA TECHNOLOGY)
: ศิรประภาชัยเนตร รุ่งนภา เขียววิจิตร ชาญชัย เดชธรรมรงค์ และครรชิต เงินคาคง
Views: 225
: 6/11/2023 8:17:08 PM
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสิทธิภาพการดูดซับฟอร์มัลดีไฮด์ในสารละลายโดยใช้เปลือกไข่ที่ปรับสภาพด้วยพลาสมาเปรียบเทียบกับการใช้เปลือกไข่ที่ไม่ผ่านการปรับสภาพตามปัจจัยที่มีผลต่อการดูดซับ ได้แก่ ความเข้มข้นของสารละลายฟอร์มัลดีไฮด์เริ่มต้น (10-50 มิลลิกรัมต่อลิตร) ระยะเวลาสัมผัส (5-360 นาที) และขนาดของเปลือกไข่ที่ใช้Sieve no.12, 16 และ 20ซึ่งได้อนุภาคเปลือกไข่ที่มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง≤1.70 มิลลิเมตร, ≤1.18 มิลลิเมตร และ≤0.85 มิลลิเมตรตามล าดับ โดยเป็นการทดลองในระดับห้องปฏิบัติการและเพื่อศึก ....
อ่านต่อ
การศึกษาสภาวะที่เหมาะสมในการผลิตกรดซิตริกจากสับปะรดเหลือทิ้ง โดย Candida metapsilosis CPRU001 ด้วยวิธีการพื้นผิวตอบสนอง
: ศักดิ์ชาย เพ็ชรตรา
Views: 165
: 6/11/2023 7:57:58 PM
วัตถุประสงค์ของการวิจัยนี้เพื่อศึกษาสภาวะที่เหมาะสมในการผลิตกรดซิตริกจากสับปะรดเหลือทิ้งภาคเกษตรกรกรรมโดย Candida metapsilosis CPRU001 โดยใช้การออกแบบการทดลองทางสถิติด้วยวิธีการพื้นผิวตอบสนอง (Response surface methodology, RSM) ในรูปแบบส่วนประสมกลาง (Central Composite Design, CCD) ซึ่งทาการคัดเลือก 3 ปัจจัยที่มีผลต่อการผลิตกรดซิตริก ชึ่งประกอบด้วย 1. ค่าความเป็นกรดด่างเริ่มต้น (Initial pH) ของสับสเตรท 2. ปริมาณยีสต์สกัด (yeast extract) 3. ปริมาณโปแตส เซียมไดไอโดรเจนฟอส ....
อ่านต่อ
การหาสภาวะที่เหมาะสมในการผลิตเอนไซม์โปรติเอสและไลเปสโดยวิธีทำกูชิจากกากเมล็ดสบู่ดำ ด้วยวิธีการหมักแบบแห้ง
: นายอำพล เลือดสงคราม
Views: 185
: 3/13/2023 1:27:35 PM
งานวิจัยนี้ศึกษาการใช้ประโยชน์จากกากเมล็ดสบู่ดำ โดยนามาเป็นวัสดุหมักเพื่อผลิตเอนไซม์โปรติเอสและ ไลเปสด้วยรา 2 ชนิดคือ Rhizopus oligosporus และ Aspergillus oryzae พบว่า การหมักกากเมล็ดสบู่ดำด้วยรา Rhizopus oligosporus ให้ค่ากิจกรรมเอนไซม์ไลเปสสูงกว่าการใช้รา Aspergillus oryzae คิดเป็น 71.30 เปอร์เซ็นต์ และการหมักกากเมล็ดสบู่ดำด้วย รา Aspergillus oryzae จะมีค่ากิจกรรมเอนไซม์โปรติเอสสูงกว่ารา Rhizopus oligosporus คิดเป็น 10.47 เปอร์เซ็นต์ จากนั้นทำการศึกษาหาสภาวะที่เหมาะสมในการผลิตเอนไซม์ไลเปส ด้วย ....
อ่านต่อ
Displaying all of Biochemicals Research
Loading...