หน้าหลัก
ทำเนียบผู้ประกอบการ
ข้อมูลงานวิจัย
งานวิจัยจากส่วนกลาง
งานวิจัยระดับท้องถิ่น
เทคโนโลยีที่ใช้ในการผลิต
งานวิจัยจากส่วนกลาง กลุ่มอุตสาหกรรมชีวเภสัชภัณฑ์ (Biopharmaceuticals)
Home
Bio-pharmaceuticals
งานวิจัยจากส่วนกลาง
Biopharmaceuticals Research Services ?
ผลงานวิจัยจากส่วนกลาง กลุ่มอุตสาหกรรมชีวเภสัชภัณฑ์ (Biopharmaceuticals)
5 อันดับผลงานล่าสุด
ที่ถูกอัพเดทในฐานข้อมูล
การศึกษาเพื่อเปรียบเทียบองค์ประกอบทางชีวภาพในน้ำเลือดที่อุดมไปด้วย เกล็ดเลือดที่ได้จากการปั่นด้วยชุดปั่นแยกชนิดที่มีเจลกั้นและไม่มีเจลกั้น โดยใช้หลอดชุดปั่นสำเร็จรูปที่มีขายตามท้องตลาด
: อัครวินท์ ดำรงค์วัฒนโภคิน
Views: 116
: 15 สิงหาคม 2566 14:30:57
การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาเชิงทดลองเพื่อวิเคราะห์และเปรียบเทียบปริมาณ องค์ประกอบทางชีวภาพหลังการปั่นแยก PRP โดยทา การเจาะเลือดจากกลุ่ม อาสาสมัครเพศชายอายุระหว่าง 20 – 30 ปี จานวน 5 คน โดยอาสาสมัคร 1 คน จะ ทำการปั่นแยกส่วนประกอบของ PRP โดยใช้ชุดปั่นแยก 2 ชนิด คือ ชนิดมีเจล Sodium Citrate Gel Separator tube(Selphyl, Dermalink Thailand) และชนิด ไม่มีเจล Sodium Citrate column (Mesoprase-20, Celtac Thailand) ทำการปั่น แยกแล้วตรวจหาปริมาณองค์ประกอบชีวภาพภายใน PRP ได้แก่ เกล็ดเลือด เม็ด เลือดแดง และเม็ดเลือดขาว รวมทั้งปริมาณสารโปรตีนชีวภาพ (Growth factors Profile) ไ ด้แ ก่ Platelet-derived growth factor-BB (PDGF-BB), Epidermal growth factor ( EGF) , Fibroblast growth factor-2 ( FGF-2) , Hepatocyte Growth factor (HGF)และสารบ่งชี้สภาวะการอักเสบ (Inflammatory profile) ไ ด้แ ก่ Interlukine-8 ( IL-8) โ ด ย ใ ช้ห ลัก ก า ร Magnetic Bead Immuno Chemiluminescence Assay ด้วยเครื่อง Luminex magpix (MERCK, Thailand) จากผลการทดลอง พบว่า Selphyl สามารถปั่นแยก PRP แล้วมีจำนวนเม็ดเลือดขาว น้อยกว่า Mesoprase-20 (mean, 0.05 vs. 0.10, p=0.028) อย่างมีนัยสำคัญ ในขณะที่จานวนเม็ดเลือดแดงและเกล็ดเลือดนั้นไม่มีความแตกต่างกัน ผลการ เปรียบเทียบปริมาณสารโปรตีนชีวภาพใน PRP ทั้ง 2 ชนิด พบว่า ระดับ PDGFBB, HGF และ IL-8 ไม่มีความแตกต่างกัน ในขณะที่ระดับ EGF และ FGF-2 มีความ แตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติและพบว่าระดับ FGF-2 ไม่มีความสอดคล้องกับ จำนวนเกล็ดเลือดที่ตรวจนับได้ โดยจำนวนเกล็ดเลือดใน PRP ที่ปั่นแยกได้จาก Selphyl มีค่าน้อยกว่า Mesoprase-20 (210.6 ± 58.95 vs. 261.8 ± 67.58,p = 0.140....
อ่านต่อ
ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ และฤทธิ์ยับยั้งเอนไซม์ไทโรซิเนสของสารสกัดหยาบใบฝรั่ง
: ณพัฐอร บัวฉุน
Views: 198
: 15 สิงหาคม 2566 14:31:07
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤกษทางเคมีเบื้องต้น ปริมาณฟีนอลิกรวม ปริมาณแทนนินรวม ฟลาโวนอยด์รวม ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ และฤทธิ์ยับยั้งเอนไซม์ ไทโรซิเนสของสารสกัดหยาบใบฝรั่ง โดยนาใบมาทาการสกัดด้วยเอทานอล ทำการ วิเคราะห์หาปริมาณฟีนอลิกรวม แทนนินรวม ฟลาโวนอยด์รวม ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ ของสารสกัดหยาบด้วยวิธี DPPH radical scavenging และฤทธิ์ยับยั้งเอนไซม์ ไทโรซิเนสด้วยวิธี Dopachrome method จากการศึกษาพบว่า สารสกัดหยาบเอทา นอลของใบฝรั่งพบสารพฤกษเคมีเบื้องต้น ได้แก่ ฟลาโวนอยด์ คูมาริน ซาโปนิ ....
อ่านต่อ
การพัฒนากระบวนการเตรียมสารสกัดสมุนไพรไทยที่มีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ (Development of Extraction Process for Preparing High Antioxidant Extracts from Thai Herbs)
: ชนัญ ผลประไพ และศรัณยู อุ่นทวี
Views: 145
: 11 มิถุนายน 2566 20:19:24
กลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเป็นสาเหตุหลักของการเสียชีวิตก่อนวัยอันควรของประชากรไทย มีผู้ป่วยจานวนมากที่มีสาเหตุการเกิดโรคมาจากอนุมูลอิสระ ดังนั้นงานวิจัยนี้จึงมุ่งเน้นในการศึกษากระบวนการเตรียมสารสกัดสมุนไพรไทยที่มีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระจากการสกัดสมุนไพรไทย ได้แก่ แก่นฝาง ผลสมอไทย ผลสมอพิเภก ผลมะขามป้อม และลำต้นบอระเพ็ด ด้วยวิธีการแช่ในเอทานอล เพื่อคัดกรองพืชสมุนไพรที่มีศักยภาพในการต้านอนุมูลอิสระ พบว่าสารสกัดแก่นฝางและสารสกัดผลมะขามป้อมมีฤทธิ์การต้านอนุมูลอิสระและปริมาณสารประกอบฟีนอลิกรวมสูงกว่าสารส ....
อ่านต่อ
การโคลนนิ่งดีเอ็นเอแคพสิดของไวรัสเดงกี่ โดยใช้เทคโนโลยีดีเอ็นเอสายผสม
: แจนจุรีย์ เนตรสว่าง ปรัชญา หาญเสือเหลือง ปิยวดี จุฑากาญจน์ สำอาง มูระคา สุภาพร คำพา และอุดมศิลป์ สุทธิสม
Views: 184
: 13 มีนาคม 2566 13:51:41
ไข้เลือดออกเดงกี่จัดเป็นปัญหาสำคัญด้านสาธารณสุขในประเทศไทย ซึ่งเกิดมาจากเชื้อไวรัสเดงกี่ และมียุงเป็นพาหะ โปรตีนแคพสิดของไวรัสเดงกี่ ( DENV C) มีหน้าที่ประกอบเป็นโครงสร้างของไวรัส สามารถพบได้ทั้งในไซโทพลาสซึม และนิวเครียสของเซลล์ที่ติดเชื้อ คณะผู้วิจัยได้พบว่า โปรตีนแคพสิดของเดงกี่กระตุ้นการตายของเซลล์ตับแบบอะพอพโทสิด (apoptosis) นอกจากนี้ การเข้าสู่นิวเครียส ของเซลล์ตับของโปรตีนแคพสิดชนิดดั้งเดิม( WT DENV C) ส่งผลให้เกิดการตายแบบอะพอพโทสิดด้วย ในขณะที่โปรตีนแคพสิดชนิดมิวเตชั่น (mutant DENV C) ซ ....
อ่านต่อ
การศึกษาเพื่อเปรียบเทียบองค์ประกอบทางชีวภาพในน้ำเลือดที่อุดมไปด้วยเกล็ดเลือดที่ได้จากการปั่นด้วยชุดปั่นแยกชนิดที่มีเจลกั้นและไม่มีเจลกั้นโดยใช้หลอดชุดปั่นสำเร็จรูปที่มีขายตามท้องตลาด
: อัครวินท์ ดำรงค์วัฒนโภคิน
Views: 211
: 13 มีนาคม 2566 13:37:58
การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาเชิงทดลองเพื่อวิเคราะห์และเปรียบเทียบปริมาณองค์ประกอบทางชีวภาพหลังการปั่นแยก PRP โดยทำการเจาะเลือดจากกลุ่มอาสาสมัครเพศชายอายุระหว่าง 20 – 30 ปี จำนวน 5 คน โดยอาสาสมัคร 1 คน จะทำการปั่นแยกส่วนประกอบของ PRP โดยใช้ชุดปั่นแยก 2 ชนิด คือ ชนิดมีเจล Sodium Citrate Gel Separator tube(Selphyl, Dermalink Thailand) และชนิดไม่มีเจล Sodium Citrate column (Mesoprase-20, Celtac Thailand) ทำการปั่นแยกแล้วตรวจหาปริมาณองค์ประกอบชีวภาพภายใน PRP ได้แก่ เกล็ดเลือด เม็ดเลือดแดง และเม็ดเลื ....
อ่านต่อ
Displaying all of Biopharmaceuticals Research
Loading...