หน้าหลัก
ทำเนียบผู้ประกอบการ
ข้อมูลงานวิจัย
งานวิจัยจากส่วนกลาง
งานวิจัยส่วนภูมิภาค
เทคโนโลยีที่ใช้ในการผลิต
งานวิจัยจากส่วนท้องถิ่น กลุ่มอุตสาหกรรมชีวเภสัชภัณฑ์ (Biopharmaceuticals)
Home
Bio-pharmaceuticals
งานวิจัยจากส่วนท้องถิ่น
Biopharmaceuticals Research Services ?
ผลงานวิจัยส่วนท้องถิ่น กลุ่มอุตสาหกรรมชีวเภสัชภัณฑ์ (Biopharmaceuticals)
5 อันดับผลงานล่าสุด
ที่ถูกอัพเดทในฐานข้อมูล
การประเมินปริมาณฟลโนลิกรวม ฟลาโวนอยด์รวม ความสามารถต<านอนุมูลอิสระและฤทธิ์ยับยั้งจุลินทรีย์ของสารสกัดสมุนไพรจากตํารับยาแผนไทย
: ณัฐธิดา ศิริสม ทิพธัญญา คงภักดี และ พฤทฐิภร ศุภพลล
Views: 4
: 04 มิถุนายน 2568 07:55:17
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อประเมินศักยภาพของสมุนไพร 6 ชนิดในตํารับยาแผนไทยในการยับยั้งจุลินทรีย์ ก่อโรคและต้านอนุมูลอิสระ นอกจากนี้ยังวิเคราะห์ หาปริมาณฟีโนลิกและฟลาโวนอยด์ รวมของสารสกัดดWวยวิธี Folin Ciocalteu และ colorimetric aluminum chloride ตามลําดับ โดยสกัดสารจากพืชสมุนไพร 6 ชนิด (มะคําไก่ ผักเสี้ยนผี หนาด เขยตาย ทองพันชั่งและขมิ้นอ้อย) ด้วยเอทานอลและเอทิลอะซิเตท จากนั้นประเมินฤทธิ์ยับยั้งจุลินทรีย์และต้านอนุมูลอิสระของสารสกัดจํานวน12 สารสกัดด้วยวิธี colorimetric broth microdilution และ DPPH radical scavenging assays ตามลําดับ ผลการทดสอบฤทธิ์ยับยั้งจุลินทรีย์ พบว่าสารสกัดจากสมุนไพรมีฤทธิ์ยับยั้งจุลินทรีย์ก่อโรคและตWานอนุมูลอิสระไดWดี โดยสารสกัดเอทานอลจากมะคําไกUและผักเสี้ยนผียับยั้ง Staphylococcus epidermidis และ Talaromyces marneffei ดีที่สุด MIC เท่ากับ 50 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตร นอกจากนี้จากผลการทดสอบฤทธิ์ตWานอนุมูลอิสระพบวUาสารสกัดเอทานอล จากมะคําไกUและผักเสี้ยนผีมีฤทธิ์ยับยั้งอนุมูลอิสระ DPPH ไดWดีที่สุด ให้ค่า IC50 เท่ากับ 15.32 ± 0.38 ไมโครกรัม ต่อมิลลิลิตร และ 24.75 ± 0.97 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตรตามลําดับ โดยพบปริมาณฟีโนลิกรวมสูงสุดในสารสกัด เอทานอลจากมะคําไกUและผักเสี้ยนผีเทUากับ 82.20 ± 0.56 มิลลิกรัมสมมูลของกรดแกลลิคตUอกรัมสารสกัดและ 124.98 ± 0.74 มิลลิกรัมสมมูลของกรดแกลลิคตอกรัม สารสกัดการศึกษานี้ชี้ให้เห็นวUาสมุนไพรแต่ละชนิดในตํารับยาแผนไทยเป็นแหล่งของสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพที่มีศักยภาพ....
อ่านต่อ
พฤกษเคมี ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ และฤทธิ์ต้านแบคทีเรียจากสารสกัดหยาบของพญาสัตบรรณ
: กัณป์ธิภัศ เขียวยันต์ และ ณพัฐอร บัวฉุน
Views: 9
: 19 พฤษภาคม 2568 08:20:15
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสารพฤกษเคมี ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ และฤทธิ์ต้านแบคทีเรียจาก สารสกัดหยาบจากใบและดอกพญาสัตบรรณ จากการทดสอบ พบว่า สารสกัดหยาบจากใบพญาสัตบรรณมีปริมาณฟีนอลิกทั้งหมด (25.53 ± 0.52 mg GAE/g) และปริมาณฟลาโวนอยด์ทั้งหมด (18.21 ± 1.07mg QE/g) สูงกว่าสารสกัดหยาบจากดอกพญาสัตบรรณ และเมื่อทำการทดสอบฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระด้วยวิธี DPPH และ ABST assay พบว่า สารสกัดหยาบจากใบพญาสัตบรรณมีฤทธิ์ในการต้านอนุมูลอิสระด้วยวิธี DPPH (EC50 8.15 ± 0.27 mg/ml) และ ABTS (EC50 10.09 ± 0.52 mg/ml ....
อ่านต่อ
สารพฤกษเคมีเบื้องต้น ปริมาณฟีนอลิกและฟลาโวนอยด์รวม ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ และความเป็นพิษต่อเซลล์จากสารสกัดหยาบของกิ่งมะยงชิด
: ณัฐพงศ์ ลําขวัญ และ พัทวัฒน์ สีขาว
Views: 10
: 13 พฤษภาคม 2568 15:35:24
สารพฤกษเคมีเบื้องต้น ปริมาณฟีนอลิกและฟลาโวนอยด์รวม ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ และความเป็นพิษต่อเซลล์จากสารสกัดหยาบของกิ่งมะยงชิด แนวโน้มการใช้ผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติกำลังได้รับความสนใจอย่างแพร่หลายในปัจจุบัน เนื่องจากมีความปลอดภัยมากกว่าสารเคมีสังเคราะห์ เป็นแหล่งของสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพ และสามารถป้องกันโรคร้ายหลายชนิดได้ งานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อตรวจหาสารพฤกษเคมีเบื้องต้น ปริมาณฟีนอลิกและฟลาโวนอยด์รวม ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ และความเป็นพิษต่อเซลล์ Human keratinocyte immortal (HaCaT) ของสารสกัดหยาบจา ....
อ่านต่อ
การวิเคราะห์หาปริมาณโลหะหนักในยาสมุนไพร 10 ตำรับของโรงพยาบาล การแพทย์แผนไทยสกลนคร หลวงปู่แฟ๊บ สุภัทโท
: กุลฉัตร ยินดีมาก, อนุสรา ชมภู, จรินยา ขุนทะวาด, วรินท์ โอนอ่อน, ยลดา ศรีเศรษฐ์ และ ภัทรานิษฐ์ คำแผ่น
Views: 25
: 17 เมษายน 2568 12:06:51
การศึกษางานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ในการตรวจวิเคราะห์หาปริมาณโลหะหนักในตำรับยาสมุนไพร 10 ตำรับ ของโรงพยาบาลการแพทย์แผนไทยสกลนคร หลวงปู่แฟ๊บสุภัทโท โลหะหนักที่ทำการศึกษาได้แก่ ตะกั่ว (Pb), แคดเมียม (Cd) สารหนู (As) , และปรอท (Hg) ตัวอย่างตำรับยาสมุนไพรได้แก่ ยาเถาวัลย์เปรียง ยาประสะเจตพังคี ยาสหัศธารา ยาธรณีสัณฑะฆาต ยาหอมนวโกฐ ยาประสะจันทน์แดง ยากษัยเส้น ยาหอมเทพจิตรยาขมิ้นชัน และยาว่านชักมดลูก ปริมาณตัวอย่างที่ใช้ในการทดลอง 0.25 กรัม สารละลายผสมระหว่างกรดไนตริก 65% โดยปริมาตร และไฮโดรเจนเปอร์ ....
อ่านต่อ
การศึกษาฤทธิ์ต้านเชื้อ Bacillus cereus ในสารสกัดจากขิง
: กมล อยู่สุข และ ธนาวรรณ สุขเกษม
Views: 33
: 28 มีนาคม 2568 08:37:02
ขิง (Ginger) เป็นพืชสมุนไพรที่ได้รับความนิยมในการใช้เพิ่มรสชาติในอาหารและเครื่องดื่มรวมทั้งผลิตภัณฑ์สุขภาพต่างๆ นอกจากนี้ ขิง ยังมีคุณสมบัติทางสุขภาพมากมายที่น่าสนใจ เช่น ฤทธิ์ต้านออกซิเดชันช่วยลดอาการอักเสบในร่างกาย และมีฤทธิ์ต้านเชื้อแบคทีเรีย ช่วยป้องกันการติดเชื้อแบคทีเรียในระบบทางเดินอาหารได้ดี เชื้อแบคทีเรียชื่อ Bacillus cereus เป็นหนึ่งในเชื้อแบคทีเรียที่พบบ่อยในอาหารและเป็นสาเหตุหลักของโรคติดเชื้อจากอาหาร ทำให้มีอาการอาเจียนและท้องเสีย การรักษาโรคนี้ ส่วนมากใช้ยาต้านเชื้อที่ผลิตจากสารเค ....
อ่านต่อ
Displaying all of Biopharmaceuticals Research
Loading...