งานวิจัยจากส่วนท้องถิ่น กลุ่มอุตสาหกรรมพลาสติกชีวภาพ (Bioplastics)

Bioplastics Research Services ?

แสดงข้อมูลงานวิจัยอุตสาหกรรมพลาสติกชีวภาพ (Bioplastics Research)

ลำดับผู้แต่งชื่อเรื่องTitleปีที่พิมพ์เอกสาร 
1 จันทิมา ชั่งสิริพร พฤกระยา พงศ์ยี่หล้าและนิรณา ชัยฤกษ์ศึกษาการเตรียมพลาสติกชีวภาพย่อยสลายได้จากฟางข้าวและและไคโตซานStudy on the Preparation of Biodegradable Plastic from Rice Straw and Chitosan2566
2 ดร.วันกุศล ชนะสิทธิ์การผลิตพลาสติกชีวภาพชนิดพอลิไฮดรอกซีอัลคาโนเอตจากเปลือกสับปะรดเหลือทิ้งProduction of bioplastic: Polyhydroxyalkanoates (PHAs) from pineapple peel residue2566
3 วรศักดิ์ เพชรวโรทัย และ นีรนุช ภู่สันติพฤติกรรมและจลนศาสตร์การเกิดผลึกของพอลิแลกไทด์ผ่านกระบวนการก่อ ผลึกแบบเนื้อผสมและการเสริมสภาพพลาสติก 2559
4 ภาวิณี เทียมดี และ บวรรัตน์ บึ้งสลุงการประยุกต์ใช้แป้งมันสำปะหลัง 2 สายพันธ์ุ เพื่อผลิตถุงเพาะชำพลาสติก ย่อยสลายได้ทางชีวภาพ 2562
5 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุรีลักษณ์ รอดทองการผลิตพอลิเมอร์พลาสติกชีวภาพจากแป้งมันสาปะหลังโดยแบคทีเรียสาย พันธุ์เฉพาะ 2560
6 ประดินันท์ เอี่ยมสะอาดโพลีไฮดรอกซีอัลคาโนเอต: พลาสติกชีวภาพจากแบคทีเรีย 2560
7 อาจารย์ ดร.วาสนา เป็นเครือความหลากหลายของแบคทีเรียบริเวณรอบรากพืชที่สามารถผลิตพลาสติก ชีวภาพชนิดพอลิไฮดรอกแอลคาโนเอท (พีเอซเอ) เพื่อการประยุกต์ใช้ ประโยชน์ในเชิงอุตสาหกรรมพลาสติกชีวภาพ 2565
8 กรณัฏฐ์ นาคภิบาล สมทบ สันติเบ็ญจกุล กนกพร เกาะมั่น และ รัชดา ไชยเจริญการผลิตเซลลูโลสนาโนไฟเบอร์จากเปลือกปอคิวบาด้วยกระบวนการไมโครฟลูอิไดเซชัน (Production of Cellulose Nanofiber from Kenaf (Hibiscus cannabinus L.) Bark by Microfluidization) 2565
9 ประดินันท์ เอี่ยมสะอาดพอลิไฮดรอกซีอัลคาโนเอต: พลาสติกชีวภาพจากแบคทีเรีย 2017
10 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุรีลักษณ์ รอดทองการผลิตพอลิเมอร์พลาสติกชีวภาพจากแป้งมันสำปะหลังโดยแบคทีเรียสายพันธุ์เฉพาะProduction of Bio-plastic Polymers from Cassava Starch by Specific Bacterial Strains2017
11 ดรรชนีย์ พลหาญ และ ยศฐา ศรีเทพการเตรียมพลาสติกชีวภาพผสมของยางธรรมชาติและพอลิแล็กติกแอซิดแบบสเตริโอคอมเพล็ก 2559
12 1. วราภรณ์ จันทาสี 2. ชาญวิทย์ โฆษิตานนท์ 3 ธนาวดี ลี้จากภัยการย่อยสลายของพลาสติกชนิด Polybutylene succinate (PBS) ในอาหารเหลวด้วยแบคทีเรียที่คัดแยกจากหลุมฝังกลบขยะ -
13 ยุพา ศรีวิราช, กิตติทัต ทานท่าการพัฒนาสูตรผสมสำหรับบรรจุภัณฑ์ย่อยสลายทางชีวภาพ: การผสมพอลิบิวทิลีนซัคซิเนตและเซลลูโลสอะซิเตทบิวทิเรตFormulation development for biodegradable packaging: Polybutylene succinate and cellulose acetate bu2558
14 พิชาภัค ศรียาภัย1 ทายาท ศรียาภัย2 ลักษมี ศุกระกาญจนะ3สภาวะที่เหมาะสมในการผลิตเอนไซม์ย่อยสลายพอลิบิวทิลีนซัคซิเนต (PBS) จาก Saccharothrix sp. APL5 2560
15 ยุพา ศรีวิราช กิตติทัต ทานท่าการพัฒนาสูตรผสมสำหรับบรรจุภัณฑ์ย่อยสลายทางชีวภาพ: การผสมพอลิบิวทิลีนซัคซิเนตและเซลลูโลสอะซิเตทบิวทิเรตFormulation development for biodegradable packaging: Polybutylene succinate and cellulose acetate bu2558
16 สุทธิษา ก้อนเรือง1 การะเกด แก้วใหญ่1 ธวัฒน์ชัย เทพนวล2 มาริสา เชษฐวรรณสิทธิ์3การผลิตพลาสติกย่อยสลายได้ทางชีวภาพจากเส้นใยต้นสาคูProduction of Biodegradable Plastics from Sago Fibers2563
17 ดร. จุฬารัตน์ หงส์วลีรัตน์การปรับปรุงกระบวนการผลิตบรรจุภัณฑ์อาหารย่อยสลายได้ทางชีวภาพจากใบและจุกสับปะรดProcess Improvement of Biodegradable Food Package from Pineapple Turgid Leaf and Crown2562
18 จริยาภรณ์ มากล้า และ ภารนิมมิตวดี พร้อมมิตรการประยุกต์ใช้มันเลือด (Wild Yam) เพื่อผลิตพลาสติกย่อยสลายได้ทาง ชีวภาพ 2556
19 ผศ. ดร.กรองจันทร์ รัตนประดิษฐ์การปรับปรุงสายพันธุ์และการพัฒนาสภาวะการเลี้ยงแบคทีเรีย Alcaligenes sp. เพื่อเพิ่มความสามารถในการผลิตพอลิเมอร์ที่ย่อยสลายได้กลุ่มพอลีไฮดรอกซีอัลคาโนเอต -
20 ประดินันท์ เอี่ยมสะอาดโพลีไฮดรอกซีอัลคาโนเอต พลาสติกชีวภาพจากแบคทีเรีย 2560
12