มาตรฐานผลิตภัณฑ์ชีวภาพที่เกี่ยวข้อง

สืบค้นมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชีวภาพ

แสดงข้อมูลมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชีวภาพ

ลำดับหัวข้อเอกสาร 
1 มอก. 2512 2563 มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมนี้ กำหนดการหาระดับการแตกเป็นส่วนของพลาสติกภายใต้สภาวะจำลองการหมักทางชีวภาพในการทดสอบระดับห้องปฏิบัติการ อ่านรายละเอียด
2 มอก. 2511-2563 มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมนี้ กำหนดการหาระดับการแตกเป็นส่วนของพลาสติกภายใต้สภาวะการหมักทางชีวภาพที่กำหนดในการทดสอบระดับโรงงานต้นแบบ อ่านรายละเอียด
3 มอก. 2510 ล.2- 2563 มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมนี้ กำหนดการหาการแตกสลายทางชีวภาพในขั้นสุดท้ายแบบใช้ออกซิเจนของพลาสติกภายใต้สภาวะควบคุมการหมักทางชีวภาพ - วิธีวิเคราะห์คาร์บอนไดออกไซด์ที่เกิดขึ้น - เล่ม 2 การชั่งน้ำหนักคาร์บอนไดออกไซด์ที่เกิดขึ้นในการทดสอบระดับห้องปฏิบัติการ อ่านรายละเอียด
4 มอก.2509-2554 มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมนี้ กำหนดการหาการแตกสลายทางชีวภาพแบบใช้ออกซิเจนของพลาสติกภายใต้การควบคุมสภาวะการหมัก อ่านรายละเอียด
5 มอก.2987-2562 มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมนี้ กำหนดการหาการแตกสลายทางชีวภาพแบบใช้ออกซิเจนของพลาสติกที่จมอยู่ระหว่างชั้นน้ำทะเลกับผิวตะกอนทราย - วิธีวิเคราะห์คาร์บอนไดออกไซด์ที่เกิดขึ้น อ่านรายละเอียด
6 มอก.2986 2562 มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมนี้ กำหนดการหาการแตกสลายทางชีวภาพแบบใช้ออกซิเจนของพลาสติกที่จมอยู่ระหว่างชั้นน้ำทะเลกับผิวตะกอนทราย - วิธีวัดปริมาณความต้องการออกซิเจนด้วยเครื่องวัดการหายใจแบบปิด อ่านรายละเอียด
7 มอก. 3115-2563 มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมนี้ กำหนดการหาการแตกสลายทางชีวภาพในขั้นสุดท้ายแบบไม่ใช้ออกซิเจนภายใต้ระบบควบคุมการย่อยตะกอน - วิธีวัดการผลิตก๊าซชีวภาพ อ่านรายละเอียด
8 มอก. 2988-2562 มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมนี้ กำหนดการหาการแตกสลายทางชีวภาพในขั้นสุดท้ายแบบไม่ใช้ออกซิเจนของพลาสติกภายในระบบที่มีน้ำ - วิธีวัดการผลิตก๊าซชีวภาพ อ่านรายละเอียด
9 มอก. 2989-2562 มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมนี้ กำหนดการหาการแตกสลายทางชีวภาพในขั้นสุดท้ายแบบไม่ใช้ออกซิเจนของพลาสติก ภายใต้สภาวะการหมักสารอินทรีย์ที่มีประมาณของแข็งสูง - วิธีวิเคราะห์การปลดปล่อยก๊าซชีวภาพ อ่านรายละเอียด
10 ISO 14852:2021 มาตรฐานนี้ระบุวิธีการในการกำหนดระดับความสามารถในการย่อยสลายของ พลาสติกทางชีวภาพแบบใช้ออกซิเจนโดยการวัดปริมารก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่ เกิดขึ้น โดยควบคุมภายใต้สภาวะในห้องปฏิบัติการ ไปจนถึงสภาวะการย่อยสลายที่ใช้ หัวเชื้อจากกากตะกอนภายใต้สภาวะการใช้ออกซิเจน ซึ่งวิธีการนี้สามารถใช้กับ พลาสติกที่มีการเติมสารเติมแต่งได้
11 ISO 14851:2019 มาตรฐานสำหรับการทดสอบวัสดุประเภทพลาสติก เป็นมาตรฐานสำหรับการประเมิน ความสามารถในการย่อยสลายทางชีวภาพภายใต้สภาพอากาศของวัสดุพลาสติกในตัว ทำละลาย ที่กำหนดวิธีการวัดปริมาณออกซิเจนในระบบปิดสำหรับวัดระดับการย่อย สลายได้ทางชีวภาพของวัสดุพลาสติก ซึ่งสามารถใช้วิเคราะห์ได้ทั้งวัสดุที่ผลิตจาก ธรรมชาติ สังเคราะห์และวัสดุที่มีการเติมสารเติมแต่ง
12 AS 5810 มาตรฐานนี้ระบุข้อกำหนดและวิธีการพิจารณาว่าผลิตภัณฑ์พลาสติกนั้น ๆ สามารถ ย่อยสลายทางชีวภาพได้ในสภาวะแวดล้อมบริเวณบ้าน และเป็นพื้นฐานในการ อนุญาตให้สามารถติดฉลาก “สามารถย่อยสลายได้เองที่บ้าน” บนฉลากหรือผลิตภัณฑ์พลาสติก
13 ASTM D 6691 มาตรฐานนี้ใช้เพื่อกำหนดอัตราการย่อยสลายทางชีวภาพของพลาสติกแบบใช้ ออกซิเจน โดยรวมพลาสติกที่มีสารเติมแต่งในผลิตภัณฑ์ ที่มีการสัมผัสกับจุลินทรีย์ ทางทะเลในสกุลที่เป็นที่รู้จักอย่างน้อย 10 ชนิด ภายใต้สภาวะในห้องปฏิบัติการ ซึ่ง วิธีนี้ออกแบบมาเพื่อคัดกรองพลาสติกที่สามารถย่อยสลายทางชีวภาพได้ และการ ทดสอบนี้ใช้กับวัสดุพอลิเมอร์ที่ประกอบไปด้วยคาร์บอนอย่างน้อย 20% โดยต้องไม่ ยับยั้งจุลินทรีย์ที่มีอยู่ในทะเล
14 ASTM D5988-18 มาตรฐานนี้เป็นมาตรฐานบรรจุภัณฑ์หรับทดสอบวัสดุประเภทพลาสติกเป็น มาตรฐานที่กำหนดวิธีการประเมินการย่อยสลายทางชีวภาพแบบใช้อากาศของวัสดุ พลาสติกที่ย่อยสลายได้ในดินซึ่งครอบคลุมการประเมินอัตราการย่อยสลายทาง ชีวภาพของวัสดุพลาสติกแบบใช้อากาศที่สัมผัสกับดิน โดยเปรียบเทียบกับวัสดุ พลาสติกอ้างอิง และวัสดุพลาสติกที่นำมาทดสอบจะต้องไม่ยับยั้งการเจริญเติบโตของ แบคทีเรียและเชื้อราในดิน
15 ก.ล.ต. - สวทช. หนุนผู้ประกอบการ BCG New S-curve และ SME ส่งเสริมกลไกการเข้าถึงแหล่งเงินทุน “สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) จัดสัมมนา “การเผยแพร่บทศึกษาระบบนิเวศ และนโยบายที่ เหมาะสม เพื่อส่งเสริมการเข้าถึงแหล่งเงินทุนสำหรับผู้ประกอบการ BCG New S-curve และ SME” โดยสถาบันวิจัยและให้คำปรึกษา แห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ นำทีมโดย ศ. วิทวัส รุ่งเรืองผล และ รศ. ดร.พีระ เจริญพร นำเสนอผลการศึกษาซึ่งได้ระบุถึงปัญหาและ อุปสรรคในการระดมทุนของผู้ประกอบการในกลุ่ม “BCG New Scurve และ SME” รวมทั้งข้อเสนอแนะเชิงนโยบายสำหรับต่อยอดใน การกำหนดนโยบายหรือปรับปรุงกฎเกณฑ์ที่เหมาะสม เพื่อส่งเสริม การสร้างระบบนิเวศที่เอื้อต่อการระดมทุน พร้อมกันนี้ได้จัดสัมมนา พิเศษ หัวข้อ “แนวทางและความร่วมมือในการส่งเสริมผู้ประกอบการ BCG New S-curve และ SME ให้เข้าถึงแหล่งเงินทุน” โดยมี ศ. ดร.ชู กิจ ลิมปิจำนงค์ ผู้อำนวยการ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) นางสาวประภารัตน์ ตังควัฒนา ประธาน เจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท สิทรอน เพาเวอร์ จำกัด (มหาชน) ผู้แทนจาก บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ไลฟ์เอ็กซ์เช้นจ์ (LiVE Exchange) และนายไพบูลย์ ดำรงวารี ผู้ช่วยเลขาธิการ ก.ล.ต. ร่วม สัมมนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็น” อ่านรายละเอียด
16 ASTM D5526 อ่านรายละเอียด
17 ASTM D5511 อ่านรายละเอียด
18 ISO 17556 มาตรฐานนี้ครอบคลุม • วิธีการกำหนดความสามารถในการย่อยสลายทางชีวภาพแบบใช้ออกซิเจนขั้นสูงสุดของวัสดุพลาสติกในดินโดยการวัดความต้องการออกซิเจนหรือปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่ปล่อยออกมาในเครื่องช่วยหายใจแบบปิดสนิท • มาตรฐานนี้ได้รับการออกแบบมาเพื่อให้เกิดการย่อยสลายทางชีวภาพได้อย่างเหมาะสมโดยการปรับความชื้นของดินทดสอบโดยใช้กับวัสดุต่อไปนี้: – โพลีเมอร์ธรรมชาติและ/หรือสังเคราะห์ โคโพลีเมอร์หรือของผสมของสิ่งนั้น – วัสดุพลาสติกที่มีสารเติมแต่ง เช่น พลาสติไซเซอร์หรือสารแต่งสี โพลีเมอร์ที่ละลายน้ำได้ (ที่มา: https://www.iso.org) อ่านรายละเอียด
19 ISO 15985-2014 มาตรฐานนี้ระบุการประเมินความสามารถในการย่อยสลายทางชีวภาพแบบไม่ใช้ออกซิเจนขั้นสุดท้ายของพลาสติกโดยอิงจากสารประกอบอินทรีย์ภายใต้สภาวะการย่อยสลายแบบไม่ใช้ออกซิเจนที่เป็นของแข็งหนาแน่นสูงโดยการวัดก๊าซชีวภาพที่เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทดสอบ วิธีนี้ออกแบบมาเพื่อจำลองสภาวะการย่อยสลายแบบไม่ใช้ออกซิเจนโดยทั่วไปสำหรับเศษขยะอินทรีย์ผสมของขยะชุมชน วัสดุที่ใช้ในการทดสอบถูนั้นสัมผัสกับหัวเชื้อมีเทนที่เกิดจากกระบวนการย่อยสลายแบบไม่ใช้ออกซิเจนของขยะในครัวเรือนที่ผ่านการบำบัดแล้วภายในห้องปฏิบัติการ อ่านรายละเอียด
20 มอก. 2997-2562 มาตรฐานนี้ครอบคลุมเฉพาะฟิล์มพลาสติกทำด้วยพลาสติกสลายตัวได้ทางชีวภาพหรือพลาสติกสลายได้ทางชีวภาพอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น พอลิแล็กติกแอซิด พอลิบิวทิลีนซักซิเนต พอลิบิวทิลีนอะดิเพตโคเทเรฟ- แทเลต เทอร์มอพลาสติกสตาร์ช ใช้คลุมดินสำหรับงานเกษตรกรรม โดยกำหนดชั้นคุณภาพ ขนาดและเกณฑ์ความคลาดเคลื่อน คุณลักษณะที่ต้องการ การบรรจุ เครื่องหมายและฉลาก การชักตัวอย่างและเกณฑ์ตัดสิน และการทดสอบ อ่านรายละเอียด
123