หน้าหลัก
บริการข้อมูล
นำเข้าส่ง - ส่งออก
อุตสาหกรรมพลาสติกชีวภาพ
อุตสาหกรรมเคมีชีวภาพ
อุตสาหกรรมชีวเภสัชภัณฑ์
ห้องปฏิบัติการ
กฎ ระเบียบ มาตรการและนโยบาย
กฎ ระเบียบ
นโยบาย มาตรการ
มาตรฐานผลิตภัณฑ์ชีวภาพ
ข่าวสารเคลื่อนไหวในอุตสาหกรรมชีวภาพ
บทวิเคราะห์
Value Chain
อ้อย
มันสำปะหลัง
ปาล์มน้ำมัน
ข้าว
ข้าวโพด
กัญชาและกัญชง
สับปะรด
กาแฟ
โกโก้
Supply Chain
การศึกษาห่วงโซ่อุปทานของผลิตภัณฑ์พลาสติกชีวภาพ
พอลิแลคติคแอซิด (PLA)
TPS
พอลิไฮดรอกซีอัลคาโนเอท (Polyhydroxyalkanoates หรือ PHAs)
พอลิบิวทิลีนอะดิเพทเทเรฟทาเลท (Polybutylene Adipate Terephthalate หรือ เรียกโดยย่อว่า PBAT)
การศึกษาห่วงโซ่อุปทานของผลิตภัณฑ์เคมีชีวภาพ
กรดอะมิโน
กรดอินทรีย์
เอนไซม์ (Enzyme)
การศึกษาห่วงโซ่อุปทานของผลิตภัณฑ์ชีวเภสัชภัณฑ์
วัคซีน
Monoclonal Antibody
Recombinant Hormones
ยาปฏิชีวนะ (antibiotic)
บทวิเคราะห์เชิงลึก
บทวิเคราะห์เชิงลึกเรื่อง การศึกษายุทธศาสตร์
บทวิเคราะห์เชิงลึก “แนวทางการส่งเสริมอุตสาหกรรมเทคโนโลยีชีวภาพไทย เตรียมพร้อมสู่การเป็นศูนย์กลางอุตสาหกรรมชีวภาพของอาเซียน”
บทวิเคราะห์เชิงลึก การศึกษาและวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์ชีวภาพที่มีความต้องการสูงในตลาดเอเชียและการส่งเสริมการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชีวภาพที่สอดรับกับความต้องการของตลาด
บทวิเคราะห์เชิงลึก การศึกษาข้อมูลการประเมินวัฏจักรชีวิตและการปล่อยก๊าซเรือนกระจกของผลิตภัณฑ์ชีวภาพเพื่อวางแนวทางการปรับปรุงการผลิตผลิตภัณฑ์ชีวภาพให้บรรลุตามเป้าหมาย ‘Net Zero’
บทวิเคราะห์เชิงลึกการเจาะตลาดอุตสาหกรรมพลาสติกชีวภาพสู่การรับรองผลิตภัณฑ์ฮาลาลของประเทศมุสลิมในอาเซียน
Green Tax Expense Approval Report
สมัครสมาชิก
เข้าสู่ระบบ
ห่วงโซ่คุณค่าของพืชที่สำคัญ
Home
ห่วงโซ่คุณค่าของพืชที่สำคัญ
read
ห่วงโซ่คุณค่าของพืชที่สำคัญ
การศึกษาข้อมูลพื้นฐานของพืชเศรษฐกิจนำร่องสำคัญของไทย
ห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain) :
อ้อย
>
การศึกษาข้อมูลทั่วไป :
อ้อยเป็นพืชเศรษฐกิจที่สำคัญของไทย ซึ่งประเทศไทยเป็นประเทศผู้ปลูกอ้อยมากเป็นอันดับ 4-5 ของโลก และเป็นผู้ส่งออกน้ำตาลทรายเป็นอันดับ 2 ของโลกรองจากประเทศบราซิล จากข้อมูลของสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร รายงานว่า โดยเฉลี่ยในแต่ละปีไทยสามารถสร้างรายได้จากการจำหน่ายนำตาลทรายทั้งในประเทศและส่งออกได้ปีละกว่า 180,000 ล้านบาท นอกจากนี้อ้อยยังเป็น แหล่งสร้างงานสร้างรายได้แก่ชาวไร่อ้อยกว่า 200,000 ครัวเรือน หรือคิดเป็นประชากรกว่า 1 ล้านคน และ แรงงานอื่นอีกกว่า 1 ล้านคน ด้วยเหตุนอ้อย จึงเป็นพืชที่มีความสำคัญอย่างมากต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ขณะเดียวกัน อ้อยซึ่งเป็นวัตถุดิบสำคัญที่ใช้ในอุตสาหกรรมอ้อย น้ำตาลทราย และอุตสาหกรรม ต่อเนื่องอีกจำนวนมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การผลิตเอทานอล (Ethanol) อ้อยจึงเป็นพืชเศรษฐกิจที่มีความต้องการสูงกว่าปริมาณผลผลิตของเกษตรกรในปัจจุบัน
การศึกษาและวิเคราะห์ห่วงโซ่คุณค่า :
อย่างที่ทราบดีว่า อ้อย เป็นพืชเศรษฐกิจที่มีความเกี่ยวข้องกับผลิตภัณฑืปลายทางที่มีความต้องการของตลาดอย่างมาก ซึ่งผลิตภัณฑ์ต่อเนื่องของอ้อยเป็นผลิตภัณฑืที่เกิดจากการใช้เทคโนโลยีการแปรรูปเชิงเคมี (Chemical technology) และเทคโนโลชีทางชีวภาพ (Biotechnology) ทำให้ผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ้นสามารถทดแทนผลิตภัณฑ์จากวัตถุดิบสิ้นเปลืองต่าง ๆ และยังสามารถสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับผลิตภัณฑ์และวัตถุดิบต้นทางได้อีกทางหนึ่ง
การใช้ประโยชน์ :
การนำอ้อยและผลพลอยได้จากการผลิตน้ำตาลไปต่อยอดในการผลิตผลิตภัณฑ์ชีวภาพ เป็นแนวคิดที่ภาครัฐและภาคเอกชนร่วมกันผลักดันเพื่อให้เกิดการพัฒนาอุตสาหกรรมอ้อยและน้ำตาลที่ยั่งยืง ซึ่งมาตรการส่งเสริมการลงทุนอุตสาหกรรมชีวภาพที่ภาครัฐดำเนินการในระยะที่ผ่านมา ได้รับความสนใจจากผู้ประกอบการโรงงานน้ำตาลรายใหญ่พอสมควร ทั้งในเขตพื้นที่ EEC และพื้นที่อื่น ๆ ได้แก่ นครสวรรค์ และขอนแก่น ซึ่งส่วนใหญ่เป็นการลงทุนโรงงานผลิตเอทานอล และโรงไฟฟ้าชีวมวล นอกจากนี้ ยังมีผู้ประกอบการในกลุ่มอื่น ๆ อย่างปิโตรเคมี ที่สนใจเข้ามาลงทุนในอุตสาหกรรมชีวภาพมากขึ้นเช่นกัน ส่งผลให้การผลิตผลิตภัณฑ์ชีวภาพจากอ้อยและผลพลอยได้จากการผลิตน้ำตาลมีความหลายหลายมากขึ้น โดยได้มีการขยายและต่อยอดไปสู่ผลิตภัณฑ์อื่น ๆ ที่ก่อให้เกิดมูลค่าเพิ่มในระดับสูง อย่างพลาสติกชีวภาพ และสารตั้งต้นสำหรับผลิตสินค้าอุปโภคบริโภค
เอกสารแนบ :