หน้าหลัก
บริการข้อมูล
นำเข้าส่ง - ส่งออก
อุตสาหกรรมพลาสติกชีวภาพ
อุตสาหกรรมเคมีชีวภาพ
อุตสาหกรรมชีวเภสัชภัณฑ์
ห้องปฏิบัติการ
กฎ ระเบียบ มาตรการและนโยบาย
กฎ ระเบียบ
นโยบาย มาตรการ
มาตรฐานผลิตภัณฑ์ชีวภาพ
ข่าวสารเคลื่อนไหวในอุตสาหกรรมชีวภาพ
บทวิเคราะห์
Value Chain
อ้อย
มันสำปะหลัง
ปาล์มน้ำมัน
ข้าว
ข้าวโพด
กัญชาและกัญชง
สับปะรด
กาแฟ
โกโก้
Supply Chain
การศึกษาห่วงโซ่อุปทานของผลิตภัณฑ์พลาสติกชีวภาพ
พอลิแลคติคแอซิด (PLA)
TPS
พอลิไฮดรอกซีอัลคาโนเอท (Polyhydroxyalkanoates หรือ PHAs)
พอลิบิวทิลีนอะดิเพทเทเรฟทาเลท (Polybutylene Adipate Terephthalate หรือ เรียกโดยย่อว่า PBAT)
การศึกษาห่วงโซ่อุปทานของผลิตภัณฑ์เคมีชีวภาพ
กรดอะมิโน
กรดอินทรีย์
เอนไซม์ (Enzyme)
การศึกษาห่วงโซ่อุปทานของผลิตภัณฑ์ชีวเภสัชภัณฑ์
วัคซีน
Monoclonal Antibody
Recombinant Hormones
ยาปฏิชีวนะ (antibiotic)
บทวิเคราะห์เชิงลึก
บทวิเคราะห์เชิงลึกเรื่อง การศึกษายุทธศาสตร์
บทวิเคราะห์เชิงลึก “แนวทางการส่งเสริมอุตสาหกรรมเทคโนโลยีชีวภาพไทย เตรียมพร้อมสู่การเป็นศูนย์กลางอุตสาหกรรมชีวภาพของอาเซียน”
บทวิเคราะห์เชิงลึก การศึกษาและวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์ชีวภาพที่มีความต้องการสูงในตลาดเอเชียและการส่งเสริมการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชีวภาพที่สอดรับกับความต้องการของตลาด
บทวิเคราะห์เชิงลึก การศึกษาข้อมูลการประเมินวัฏจักรชีวิตและการปล่อยก๊าซเรือนกระจกของผลิตภัณฑ์ชีวภาพเพื่อวางแนวทางการปรับปรุงการผลิตผลิตภัณฑ์ชีวภาพให้บรรลุตามเป้าหมาย ‘Net Zero’
บทวิเคราะห์เชิงลึกการเจาะตลาดอุตสาหกรรมพลาสติกชีวภาพสู่การรับรองผลิตภัณฑ์ฮาลาลของประเทศมุสลิมในอาเซียน
Green Tax Expense Approval Report
สมัครสมาชิก
เข้าสู่ระบบ
ห่วงโซ่คุณค่าของพืชที่สำคัญ
Home
ห่วงโซ่คุณค่าของพืชที่สำคัญ
read
ห่วงโซ่คุณค่าของพืชที่สำคัญ
การศึกษาข้อมูลพื้นฐานของพืชเศรษฐกิจนำร่องสำคัญของไทย
ห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain) :
ข้าว
>
การศึกษาข้อมูลทั่วไป :
ข้าวเป็นพืชเศรษฐกิจที่สำคัญของประเทศไทยโดยเป็นแหล่งรายได้หลักของการส่งออกในหมวดสินค้าเกษตร นอกจากนี้ข้าวยังเป็นอาหารหลักของประชากรไทย พื้นที่ถือครองในการเกษตรส่วนใหญ่ได้ใช้ในการปลูกข้าว โดยประเทศไทยมีการส่งออกข้าวเป็นอันดับ 1 ของโลก ตั้งแต่ปี 2524 จนถึงปัจจุบัน ในปี 2564 ส่งออกได้มากถึง 6,117,369 ตัน คิดเป็นมูลค่าการส่งออก 107,758 ล้านบาท จึงเห็นได้ว่า นอกจากเราสามารถผลิตข้าวเพื่อบริโภคแล้ว เรายังส่งออกข้าวไปต่างประเทศ จนสามารถนำเงินตราต่างประเทศเข้าสู่ประเทศได้ในอันดับต้น ๆ นอกจากนี้รายได้ที่ได้จากการส่งออกข้าวส่วนใหญ่ เป็นรายได้ในลักษณะสุทธิ (Net Income) โดยมีการสั่งซื้อปัจจัยการผลิตจากต่างประเทศเป็นส่วนน้อย ไม่เหมือนกับในบางอุตสาหกรรมที่ยังคงต้องพึ่งพาปัจจัยด้านการผลิตจากต่างประเทศเป็นหลัก
การศึกษาและวิเคราะห์ห่วงโซ่คุณค่า :
จากการศึกษารายละเอียดของห่วงโซ่คุณค่าของข้าว พบว่า มีผลิตต่อเนื่องที่เกี่ยวข้องใน ห่วงโซ่คุณค่าค่อนข้างมาก ทั้งกลุ่มผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวข้องกับการบริโภค หรือใช้เป็นองหารหลักในการดำรงชีวิตของมนุษย์ และกลุ่มที่มีการต่อยอดในการการผลิตผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมต่าง ๆ โดยหลังการเก็บเกี่ยว ข้าว จะถูกรวบรวมเพื่อใช้ประโยชน์ โดยแบ่งเป็น 3 ส่วนหลัก ๆ คือ อุตสาหกรรมอาหารและสุขภาพ อุตสาหกรรม-แปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์กึ่งสำเร็จรูปและสำเร็จรูปผ่านกระบวนการสีในโรงสี และเก็บรวบรวมไว้สำหรับการวิจัยและพัฒนาพันธุ์ข้าว
การใช้ประโยชน์ :
ตามที่ได้กล่าวถึงในรายละเอียดข้างต้น จะเห็นได้ว่า ข้าวมีความเกี่ยวข้องกับผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมจำนวนมากทั้งในอุตสาหกรรมอาหาร (Food Industry) และอุตสาหกรรมที่ไม่ใช่อาหาร (Non-Food industry) ซึ่งล้วนแล้วแต่เป็นการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับข้าวซึ่งเป็นพืชเศรษฐกิจสำคัญอันดับ 1 ของไทย
เอกสารแนบ :