หน้าหลัก
บริการข้อมูล
นำเข้าส่ง - ส่งออก
อุตสาหกรรมพลาสติกชีวภาพ
อุตสาหกรรมเคมีชีวภาพ
อุตสาหกรรมชีวเภสัชภัณฑ์
ห้องปฏิบัติการ
กฎ ระเบียบ มาตรการและนโยบาย
กฎ ระเบียบ
นโยบาย มาตรการ
มาตรฐานผลิตภัณฑ์ชีวภาพ
ข่าวสารเคลื่อนไหวในอุตสาหกรรมชีวภาพ
บทวิเคราะห์
Value Chain
อ้อย
มันสำปะหลัง
ปาล์มน้ำมัน
ข้าว
ข้าวโพด
กัญชาและกัญชง
สับปะรด
กาแฟ
โกโก้
Supply Chain
การศึกษาห่วงโซ่อุปทานของผลิตภัณฑ์พลาสติกชีวภาพ
พอลิแลคติคแอซิด (PLA)
TPS
พอลิไฮดรอกซีอัลคาโนเอท (Polyhydroxyalkanoates หรือ PHAs)
พอลิบิวทิลีนอะดิเพทเทเรฟทาเลท (Polybutylene Adipate Terephthalate หรือ เรียกโดยย่อว่า PBAT)
การศึกษาห่วงโซ่อุปทานของผลิตภัณฑ์เคมีชีวภาพ
กรดอะมิโน
กรดอินทรีย์
เอนไซม์ (Enzyme)
การศึกษาห่วงโซ่อุปทานของผลิตภัณฑ์ชีวเภสัชภัณฑ์
วัคซีน
Monoclonal Antibody
Recombinant Hormones
ยาปฏิชีวนะ (antibiotic)
บทวิเคราะห์เชิงลึก
บทวิเคราะห์เชิงลึกเรื่อง การศึกษายุทธศาสตร์
บทวิเคราะห์เชิงลึก “แนวทางการส่งเสริมอุตสาหกรรมเทคโนโลยีชีวภาพไทย เตรียมพร้อมสู่การเป็นศูนย์กลางอุตสาหกรรมชีวภาพของอาเซียน”
บทวิเคราะห์เชิงลึก การศึกษาและวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์ชีวภาพที่มีความต้องการสูงในตลาดเอเชียและการส่งเสริมการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชีวภาพที่สอดรับกับความต้องการของตลาด
บทวิเคราะห์เชิงลึก การศึกษาข้อมูลการประเมินวัฏจักรชีวิตและการปล่อยก๊าซเรือนกระจกของผลิตภัณฑ์ชีวภาพเพื่อวางแนวทางการปรับปรุงการผลิตผลิตภัณฑ์ชีวภาพให้บรรลุตามเป้าหมาย ‘Net Zero’
บทวิเคราะห์เชิงลึกการเจาะตลาดอุตสาหกรรมพลาสติกชีวภาพสู่การรับรองผลิตภัณฑ์ฮาลาลของประเทศมุสลิมในอาเซียน
Green Tax Expense Approval Report
สมัครสมาชิก
เข้าสู่ระบบ
ข่าวสารเคลื่อนไหวในอุตสาหกรรมชีวภาพ
Home
Bio Innovation Linkage
สารสกัด"พลูคาว" 4ตัวสำคัญต้าน อนุมูลอิสระ-ริ้วรอย-ยับยั้งไวรัส ปูทางสู่ผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ
เนื้อเรื่อง :
การวิจัยพบว่าการสกัดพลูคาวด้วยวิธี Green Extraction เพิ่มประสิทธิภาพและลดการใช้สารเคมีได้ พบสารสำคัญพลู เช่น รูติน เควอซิติน ไฮเปอรินและไฮเปอโรไซด์ ซึ่งสารสกัดพลูคาวแสดงฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ
เนื้อหา :
ทีมวิจัยนาโนเทคเริ่มจากการพัฒนากระบวนการสกัดแบบ Green Extraction ที่เพิ่มประสิทธิภาพการสกัด ลดใช้สารเคมี โดยในตอนแรก ตั้งเป้าศึกษา 2 สารที่มีผลการวิจัยชี้ว่าพบในพลูคาวอย่าง รูติน (Rutin) และ เควอซิติน (Quercitrin) แต่หลังสกัดด้วยวิธีที่พัฒนาขึ้น พบว่า มีอีก 2 สารที่น่าสนใจอย่าง ไฮเปอริน (Quercetin 3-glucoside: Hyperin) และไฮเปอโรไซ (Quercetin-3-D-galactoside: Hyperoside) เมื่อนำมาทดสอบฤทธิ์ทางชีวภาพพบว่า สารสกัดพลูคาวมีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระในหลอดทดลอง โดยประเมินด้วยวิธี DPPH assay, ABTS assay และเมื่อทดสอบในเซลล์เพาะเลี้ยงชนิด DHF ที่เหนี่ยวนำด้วยไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ (H2O2) ก็พบว่า สารสกัดพลูคาวมีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระอย่างมีนัยสำคัญ
แหล่งข้อมูล :
khaosod
URL :
อ่านข่าวฉบับเต็มได้ที่นี่ >>> Click
<<<