หน้าหลัก
บริการข้อมูล
นำเข้าส่ง - ส่งออก
อุตสาหกรรมพลาสติกชีวภาพ
อุตสาหกรรมเคมีชีวภาพ
อุตสาหกรรมชีวเภสัชภัณฑ์
ห้องปฏิบัติการ
กฎ ระเบียบ มาตรการและนโยบาย
กฎ ระเบียบ
นโยบาย มาตรการ
มาตรฐานผลิตภัณฑ์ชีวภาพ
ข่าวสารเคลื่อนไหวในอุตสาหกรรมชีวภาพ
บทวิเคราะห์
Value Chain
อ้อย
มันสำปะหลัง
ปาล์มน้ำมัน
ข้าว
ข้าวโพด
กัญชาและกัญชง
สับปะรด
กาแฟ
โกโก้
Supply Chain
การศึกษาห่วงโซ่อุปทานของผลิตภัณฑ์พลาสติกชีวภาพ
พอลิแลคติคแอซิด (PLA)
TPS
พอลิไฮดรอกซีอัลคาโนเอท (Polyhydroxyalkanoates หรือ PHAs)
พอลิบิวทิลีนอะดิเพทเทเรฟทาเลท (Polybutylene Adipate Terephthalate หรือ เรียกโดยย่อว่า PBAT)
การศึกษาห่วงโซ่อุปทานของผลิตภัณฑ์เคมีชีวภาพ
กรดอะมิโน
กรดอินทรีย์
เอนไซม์ (Enzyme)
การศึกษาห่วงโซ่อุปทานของผลิตภัณฑ์ชีวเภสัชภัณฑ์
วัคซีน
Monoclonal Antibody
Recombinant Hormones
ยาปฏิชีวนะ (antibiotic)
บทวิเคราะห์เชิงลึก
บทวิเคราะห์เชิงลึกเรื่อง การศึกษายุทธศาสตร์
บทวิเคราะห์เชิงลึก “แนวทางการส่งเสริมอุตสาหกรรมเทคโนโลยีชีวภาพไทย เตรียมพร้อมสู่การเป็นศูนย์กลางอุตสาหกรรมชีวภาพของอาเซียน”
บทวิเคราะห์เชิงลึก การศึกษาและวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์ชีวภาพที่มีความต้องการสูงในตลาดเอเชียและการส่งเสริมการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชีวภาพที่สอดรับกับความต้องการของตลาด
บทวิเคราะห์เชิงลึก การศึกษาข้อมูลการประเมินวัฏจักรชีวิตและการปล่อยก๊าซเรือนกระจกของผลิตภัณฑ์ชีวภาพเพื่อวางแนวทางการปรับปรุงการผลิตผลิตภัณฑ์ชีวภาพให้บรรลุตามเป้าหมาย ‘Net Zero’
บทวิเคราะห์เชิงลึกการเจาะตลาดอุตสาหกรรมพลาสติกชีวภาพสู่การรับรองผลิตภัณฑ์ฮาลาลของประเทศมุสลิมในอาเซียน
Green Tax Expense Approval Report
สมัครสมาชิก
เข้าสู่ระบบ
รายละเอียดห้องปฏิบัติการ :
Label
Home
Bio-Plastics
ห้องปฏิบัติการ (ทั้งหมด)
รายละเอียดห้องปฏิบัติการ:
หน่วยงาน :
คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ห้องปฏิบัติการ :
ศูนย์ทดสอบฤทธิ์ทางชีวภาพ Biological Activity Testing Center คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
bioact.psu@gmail.com
0828102230
-
https://bioact.psu.ac.th
ข้อมูลทั่วไปของบริษัท ที่อยู่ :
15
อาคาร :
วิจัยอาคารวิจัย นวัตกรรมและถ่ายทอดเทคโนโลยีการแพทย์
ชั้น :
9
หมู่ :
-
ซอย :
-
ถนน :
-
ตำบล :
อำเภอ :
จังหวัด :
0
รายละเอียดห้องปฏิบัติการทดสอบ :
คณะผู้วิจัยของศูนย์ทดสอบฯ มีความเชี่ยวชาญในการทดสอบทั้งในเซลล์เพาะเลี้ยงและในสัตว์ทดลองมานานกว่า 15 ปี มีผลงานที่ได้รับการตีพิมพ์ระดับนานาชาติในฐานข้อมูล ISI ซึ่งการจัดตั้งศูนย์ฯครั้งนี้จะเปิดให้บริการทดสอบฤทธิ์ทางชีวภาพของสาร เช่น การทดสอบในเซลล์เพาะเลี้ยง การทดสอบในหลอดทดลอง การทดสอบในสัตว์ทดลอง ตลอดจนมีหน่วยบริการเกี่ยวกับการทดสอบฤทธิ์ของสารบริสุทธิ์ที่มีกับโปรตีนเป้าหมาย โดยใช้การคำนวณด้วยคอมพิวเตอร์ (computer simulation) พร้อมประเมินความสามารถในการเข้าจับของสารกับโปรตีนเป้าหมายที่สนใจ เพื่อให้การบริการมีความครอบคลุมครบวงจร และสามารถตอบโจทย์นักวิจัยและหน่วยงานต่างๆ ทั้งในภาคใต้ ระดับประเทศ และต่างประเทศ ทั้งนี้ศูนย์ฯกำลังดำเนินการเรื่องจัดตั้งมาตรฐานของห้องปฏิบัติการที่รับทดสอบ คือ ISO/IEC 17025: 2017 และ Good Laboratory Practice (GLP)
รายละเอียดการให้บริการ (โดยสังเขป) :
โดยให้บริการ บริการทางห้องปฏิบัติการในหลอดทดลอง (In Vitro Service) และ การทดลองในสิ่งมีชีวิตจริง (In Vivo Service) โดยมีรายละเอียด ดังนี้ บริการทางห้องปฏิบัติการในหลอดทดลอง (In Vitro Service) : บริการทดสอบความเป็นพิษต่อเซลล์ (MTT assay)บริการทดสอบความเป็นพิษต่อสารพันธุกรรมของเซลล์เพาะเลี้ยง (Alkaline comet assay) การสกัดโปรตีนและการตรวจสอบปริมาณโปรตีนด้วยวิธีการย้อม Coomassie brilliant blue (Coomassie brilliant blue staining) การทดสอบฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ (TBARS assay) ในเซลล์เพาะเลี้ยง (TBARS assay) การทดสอบ Apoptosis (Apoptosis assay) การทดสอบการหยุดวงจรเซลล์ (Cell cycle arrest) การทดสอบ Multi-caspase activity (Multi-caspase activity assay) การทดสอบ Colony formation (Colony formation assay) การตรวจวิเคราะห์โปรตีนที่สนใจด้วยเทคนิค Western blot (Western blot) การทดสอบ Cytokine array ในเซลล์เพาะเลี้ยงและสัตว์ทดลอง (Cytokine array in cell culture and animal models) การเก็บก้อนเซลล์ (Cell pellet) จากการทดสอบฤทธิ์ของสารต่อเซลล์ (Cell pellet collection) การถ่ายภาพเซลล์ (Cell photography) ประกอบรายงานการทดสอบ (Cell photography for report compilation) การวิเคราะห์ผล GC-MS (GC-MS analysis) การทดลองในสิ่งมีชีวิตจริง (In Vivo Service) : บริการทดสอบฤทธิ์ต้านมะเร็งในหนูขาวใหญ่ (Screen ไม่วิเคราะห์เลือดและฮิสโตพยาธิ) บริการทดสอบฤทธิ์ต้านมะเร็งในหนูขาวใหญ่ (วิเคราะห์เลือดและฮิสโตพยาธิ) บริการยื่นขอรับรองจริยธรรมการวิจัยในสัตว์ทดลอง (Ethic) การทดสอบความเป็นพิษแบบกึ่งเรื้อรังในหนูขาวใหญ่ (Sub-chronic) การทดสอบความเป็นพิษแบบเรื้อรังในหนูขาวใหญ่ (Chronic) การทดสอบฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระโดยวิธี TBARS assay ในหนูทดลอง ทดสอบการเป็นพิษต่อพันธุกรรมในสัตว์ทดลอง (Genotoxicity) การทดสอบ Cytokine array ในเซลล์เพาะเลี้ยงและสัตว์ทดลอง การทดสอบการป้องกันมะเร็ง (Cancer prevention) ในหนูขาวใหญ่ (แบบ Screening) การทดสอบความเป็นพิษเฉียบพลันในสัตว์ทดลอง (Acute toxicity)
ในประเทศ / ต่างประเทศ :
ในประเทศ
ต่างประเทศ