หน้าหลัก
บริการข้อมูล
นำเข้าส่ง - ส่งออก
อุตสาหกรรมพลาสติกชีวภาพ
อุตสาหกรรมเคมีชีวภาพ
อุตสาหกรรมชีวเภสัชภัณฑ์
ห้องปฏิบัติการ
กฎ ระเบียบ มาตรการและนโยบาย
กฎ ระเบียบ
นโยบาย มาตรการ
มาตรฐานผลิตภัณฑ์ชีวภาพ
ข่าวสารเคลื่อนไหวในอุตสาหกรรมชีวภาพ
บทวิเคราะห์
Value Chain
อ้อย
มันสำปะหลัง
ปาล์มน้ำมัน
ข้าว
ข้าวโพด
กัญชาและกัญชง
สับปะรด
กาแฟ
โกโก้
Supply Chain
การศึกษาห่วงโซ่อุปทานของผลิตภัณฑ์พลาสติกชีวภาพ
พอลิแลคติคแอซิด (PLA)
TPS
พอลิไฮดรอกซีอัลคาโนเอท (Polyhydroxyalkanoates หรือ PHAs)
พอลิบิวทิลีนอะดิเพทเทเรฟทาเลท (Polybutylene Adipate Terephthalate หรือ เรียกโดยย่อว่า PBAT)
การศึกษาห่วงโซ่อุปทานของผลิตภัณฑ์เคมีชีวภาพ
กรดอะมิโน
กรดอินทรีย์
เอนไซม์ (Enzyme)
การศึกษาห่วงโซ่อุปทานของผลิตภัณฑ์ชีวเภสัชภัณฑ์
วัคซีน
Monoclonal Antibody
Recombinant Hormones
ยาปฏิชีวนะ (antibiotic)
บทวิเคราะห์เชิงลึก
บทวิเคราะห์เชิงลึกเรื่อง การศึกษายุทธศาสตร์
บทวิเคราะห์เชิงลึก “แนวทางการส่งเสริมอุตสาหกรรมเทคโนโลยีชีวภาพไทย เตรียมพร้อมสู่การเป็นศูนย์กลางอุตสาหกรรมชีวภาพของอาเซียน”
บทวิเคราะห์เชิงลึก การศึกษาและวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์ชีวภาพที่มีความต้องการสูงในตลาดเอเชียและการส่งเสริมการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชีวภาพที่สอดรับกับความต้องการของตลาด
บทวิเคราะห์เชิงลึก การศึกษาข้อมูลการประเมินวัฏจักรชีวิตและการปล่อยก๊าซเรือนกระจกของผลิตภัณฑ์ชีวภาพเพื่อวางแนวทางการปรับปรุงการผลิตผลิตภัณฑ์ชีวภาพให้บรรลุตามเป้าหมาย ‘Net Zero’
บทวิเคราะห์เชิงลึกการเจาะตลาดอุตสาหกรรมพลาสติกชีวภาพสู่การรับรองผลิตภัณฑ์ฮาลาลของประเทศมุสลิมในอาเซียน
Green Tax Expense Approval Report
สมัครสมาชิก
เข้าสู่ระบบ
ข่าวสารเคลื่อนไหวในอุตสาหกรรมชีวภาพ
Home
Bio Innovation Linkage
ครม.รับทราบแนวทางส่งเสริมใช้ “เอทานอล” ในอุตฯพลาสติกชีวภาพ
เนื้อเรื่อง :
ที่ประชุมคณะรัฐมนตรี (ครม.) รับทราบแนวทางการดำเนินการเพื่อส่งเสริมการนำเอทานอลไปใช้ในอุตสาหกรรมอื่น นอกเหนือจากการเป็นเชื้อเพลิงชีวภาพ และการผลิตสุรา โดยมุ่งเน้นที่อุตสาหกรรมพลาสติกชีวภาพ
เนื้อหา :
ประเทศไทยมีกำลังการผลิตเอทานอล อยู่ที่ 3,123 ล้านลิตร/ปี ขณะที่ความต้องการใช้เอทานอล อยู่ที่ 1,583 ล้านลิตร แบ่งเป็น เพื่อใช้ในประเทศ 1,579 ล้านลิตร และเพื่อส่งออก 4 ล้านลิตร ซึ่งการผลิตในปัจจุบันยังไม่เต็มกำลัง โดยมีกำลังการผลิตส่วนเกินของเอทานอลประมาณ 1,337 ล้านลิตร ประกอบกับรัฐบาลมีนโยบายขับเคลื่อนการพัฒนาเศรษฐกิจ BCG Model เพื่อส่งเสริมให้เกิดการพัฒนาธุรกิจและอุตสาหกรรมใหม่ ดังนั้นแนวทางดังกล่าว จะเป็นการส่งเสริมการปรับตัว และพัฒนาอุตสาหกรรมเอทานอลให้เกิดความยั่งยืน เช่น การใช้เทคโนโลยีเพื่อนำเอทานอลเป็นวัตถุดิบในการผลิตเม็ดพลาสติกในอุตสาหกรรมพลาสติกชีวภาพ ซึ่งจะช่วยส่งเสริมให้มีการใช้เอทานอลอย่างต่อเนื่อง และยังสามารถช่วยลดก๊าซเรือนกระจกได้ในปริมาณมากด้วย
แหล่งข้อมูล :
moneyand banking
URL :
อ่านข่าวฉบับเต็มได้ที่นี่ >>> Click
<<<