หน้าหลัก
บริการข้อมูล
นำเข้าส่ง - ส่งออก
อุตสาหกรรมพลาสติกชีวภาพ
อุตสาหกรรมเคมีชีวภาพ
อุตสาหกรรมชีวเภสัชภัณฑ์
ห้องปฏิบัติการ
กฎ ระเบียบ มาตรการและนโยบาย
กฎ ระเบียบ
นโยบาย มาตรการ
มาตรฐานผลิตภัณฑ์ชีวภาพ
ข่าวสารเคลื่อนไหวในอุตสาหกรรมชีวภาพ
บทวิเคราะห์
Value Chain
อ้อย
มันสำปะหลัง
ปาล์มน้ำมัน
ข้าว
ข้าวโพด
กัญชาและกัญชง
สับปะรด
กาแฟ
โกโก้
Supply Chain
การศึกษาห่วงโซ่อุปทานของผลิตภัณฑ์พลาสติกชีวภาพ
พอลิแลคติคแอซิด (PLA)
TPS
พอลิไฮดรอกซีอัลคาโนเอท (Polyhydroxyalkanoates หรือ PHAs)
พอลิบิวทิลีนอะดิเพทเทเรฟทาเลท (Polybutylene Adipate Terephthalate หรือ เรียกโดยย่อว่า PBAT)
การศึกษาห่วงโซ่อุปทานของผลิตภัณฑ์เคมีชีวภาพ
กรดอะมิโน
กรดอินทรีย์
เอนไซม์ (Enzyme)
การศึกษาห่วงโซ่อุปทานของผลิตภัณฑ์ชีวเภสัชภัณฑ์
วัคซีน
Monoclonal Antibody
Recombinant Hormones
ยาปฏิชีวนะ (antibiotic)
บทวิเคราะห์เชิงลึก
บทวิเคราะห์เชิงลึกเรื่อง การศึกษายุทธศาสตร์
บทวิเคราะห์เชิงลึก “แนวทางการส่งเสริมอุตสาหกรรมเทคโนโลยีชีวภาพไทย เตรียมพร้อมสู่การเป็นศูนย์กลางอุตสาหกรรมชีวภาพของอาเซียน”
บทวิเคราะห์เชิงลึก การศึกษาและวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์ชีวภาพที่มีความต้องการสูงในตลาดเอเชียและการส่งเสริมการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชีวภาพที่สอดรับกับความต้องการของตลาด
บทวิเคราะห์เชิงลึก การศึกษาข้อมูลการประเมินวัฏจักรชีวิตและการปล่อยก๊าซเรือนกระจกของผลิตภัณฑ์ชีวภาพเพื่อวางแนวทางการปรับปรุงการผลิตผลิตภัณฑ์ชีวภาพให้บรรลุตามเป้าหมาย ‘Net Zero’
บทวิเคราะห์เชิงลึกการเจาะตลาดอุตสาหกรรมพลาสติกชีวภาพสู่การรับรองผลิตภัณฑ์ฮาลาลของประเทศมุสลิมในอาเซียน
Green Tax Expense Approval Report
สมัครสมาชิก
เข้าสู่ระบบ
ห่วงโซ่อุปทานของผลิตภัณฑ์เป้าหมาย
Home
ห่วงโซ่อุปทานของผลิตภัณฑ์เป้าหมาย
read
ห่วงโซ่อุปทานของผลิตภัณฑ์เป้าหมาย
การศึกษาห่วงโซ่อุปทานของผลิตภัณฑ์เป้าหมาย
ห่วงโซ่อุปทาน (Supply Chain) :
พอลิแลคติคแอซิด (PLA)
>
การศึกษาข้อมูลทั่วไป :
พอลิแลคติคแอซิด (Polylactic acid: PLA) เป็นพลาสติกชีวภาพที่สลายตัวได้ (Compostable polymer) โดยวัตถุดิบที่ใช้ในการผลิตสามารถหาได้จากทรัพยากรที่เกิดขึ้นใหม่ได้ เช่น แป้ง (Starch) ที่ได้จากพืชจำพวก ข้าวโพด มันสำปะหลัง เป็นต้น โดยในระยะเริ่มแรกการนำ PLA ไปประยุกต์ใช้งานยังไม่กว้างขวางเทียบเท่าในปัจจุบัน เนื่องจากมีต้นทุนการผลิตสูง สังเคราะห์ได้ปริมาณน้อย และมีน้ำหนักโมเลกุลต่ำ จึงมีความเหมาะสมในการใช้งานเฉพาะด้าน โดยในปัจจุบัน นักวิจัยได้ค้นพบเทคนิคการผลิต PLA ที่สามารถทำให้น้ำหนักโมเลกุลสูงขึ้นภายใต้ต้นทุนการผลิตที่เหมาะสม จึงส่งผลให้ PLA ถูกนำไปใช้ประโยชน์อย่างแพร่หลายมากขึ้น ขณะเดียวกัน PLA ยังมีคุณสมบัติที่โดดเด่นหลายประการ อาทิ ความสามารถสลายตัวได้ทางชีวภาพ (Bio-compostable) ผลิตจากวัตถุดิบยั่งยืน (Sustainable sources) มีความเป็นพิษต่ำ และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Environmental friendly) จึงทำให้ PLA จัดเป็นหนึ่งในวัสดุทางเลือกที่มีศักยภาพสามารถแก้ไขปัญหาการกำจัดขยะในสิ่งแวดล้อมได้อย่างตรงจุด
การศึกษาและวิเคราะห์ห่วงโซ่คุณค่า :
จากการศึกษาข้อมูลทั่วไปของผลิตภัณฑ์ชีวภาพเป้าหมายในกลุ่มของพอลิแลคติกแอซิด (PLA) ซึ่งเป็นหนึ่งในพอลิเมอร์ชีวภาพ (Biopolymer) ที่สำคัญที่มีความเกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมปลายทางจำนวนมาก โดยเฉพาะการผลิตบรรจุภัณฑ์พลาสติกแบบใช้ครั้งเดียวแล้วทิ้ง (Sigle-use packaging) รวมถึงผลิตภัณฑ์อื่น ๆ อีกจำนวนมาก ซึ่งในปัจจุบัน ประเทศไทยถือเป็นฐานการผลิตเม็ดพลาสติก PLA ที่สำคัญของโลกอีกด้วย
เอกสารแนบ :