หน้าหลัก
บริการข้อมูล
นำเข้าส่ง - ส่งออก
อุตสาหกรรมพลาสติกชีวภาพ
อุตสาหกรรมเคมีชีวภาพ
อุตสาหกรรมชีวเภสัชภัณฑ์
ห้องปฏิบัติการ
กฎ ระเบียบ มาตรการและนโยบาย
กฎ ระเบียบ
นโยบาย มาตรการ
มาตรฐานผลิตภัณฑ์ชีวภาพ
ข่าวสารเคลื่อนไหวในอุตสาหกรรมชีวภาพ
บทวิเคราะห์
Value Chain
อ้อย
มันสำปะหลัง
ปาล์มน้ำมัน
ข้าว
ข้าวโพด
กัญชาและกัญชง
สับปะรด
กาแฟ
โกโก้
Supply Chain
การศึกษาห่วงโซ่อุปทานของผลิตภัณฑ์พลาสติกชีวภาพ
พอลิแลคติคแอซิด (PLA)
TPS
พอลิไฮดรอกซีอัลคาโนเอท (Polyhydroxyalkanoates หรือ PHAs)
พอลิบิวทิลีนอะดิเพทเทเรฟทาเลท (Polybutylene Adipate Terephthalate หรือ เรียกโดยย่อว่า PBAT)
การศึกษาห่วงโซ่อุปทานของผลิตภัณฑ์เคมีชีวภาพ
กรดอะมิโน
กรดอินทรีย์
เอนไซม์ (Enzyme)
การศึกษาห่วงโซ่อุปทานของผลิตภัณฑ์ชีวเภสัชภัณฑ์
วัคซีน
Monoclonal Antibody
Recombinant Hormones
ยาปฏิชีวนะ (antibiotic)
บทวิเคราะห์เชิงลึก
บทวิเคราะห์เชิงลึกเรื่อง การศึกษายุทธศาสตร์
บทวิเคราะห์เชิงลึก “แนวทางการส่งเสริมอุตสาหกรรมเทคโนโลยีชีวภาพไทย เตรียมพร้อมสู่การเป็นศูนย์กลางอุตสาหกรรมชีวภาพของอาเซียน”
บทวิเคราะห์เชิงลึก การศึกษาและวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์ชีวภาพที่มีความต้องการสูงในตลาดเอเชียและการส่งเสริมการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชีวภาพที่สอดรับกับความต้องการของตลาด
บทวิเคราะห์เชิงลึก การศึกษาข้อมูลการประเมินวัฏจักรชีวิตและการปล่อยก๊าซเรือนกระจกของผลิตภัณฑ์ชีวภาพเพื่อวางแนวทางการปรับปรุงการผลิตผลิตภัณฑ์ชีวภาพให้บรรลุตามเป้าหมาย ‘Net Zero’
บทวิเคราะห์เชิงลึกการเจาะตลาดอุตสาหกรรมพลาสติกชีวภาพสู่การรับรองผลิตภัณฑ์ฮาลาลของประเทศมุสลิมในอาเซียน
Green Tax Expense Approval Report
สมัครสมาชิก
เข้าสู่ระบบ
ห่วงโซ่อุปทานของผลิตภัณฑ์เป้าหมาย
Home
ห่วงโซ่อุปทานของผลิตภัณฑ์เป้าหมาย
read
ห่วงโซ่อุปทานของผลิตภัณฑ์เป้าหมาย
การศึกษาห่วงโซ่อุปทานของผลิตภัณฑ์เป้าหมาย
ห่วงโซ่อุปทาน (Supply Chain) :
พอลิไฮดรอกซีอัลคาโนเอท (Polyhydroxyalkanoates หรือ PHAs)
>
การศึกษาข้อมูลทั่วไป :
พอลิไฮดรอกซีอัลคาโนเอท (Polyhydroxyalkanoates หรือ PHAs) จัดเป็นพอลิเอสเทอร์ที่สามารถย่อยสลายได้ทางชีวภาพ (Biodegradable polymer) กล่าวคือ เป็นโพลีเมอร์ที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ ซึ่งสามารถสังเคราะห์ขึ้นได้ภายในเซลล์ของสิ่งมีชีวิต ซึ่งโดยส่วนมากจะพบในสิ่งมีชีวิตจำพวกจุลินทรีย์ ที่สามารถสังเคราะห์สารโพลิเอสเทอร์ประเภท PHAs ซึ่งจุลินทรีย์เหล่านี้จะสังเคราะห์ PHAs ไว้ภายในเซลล์เพื่อใช้เป็นแหล่งคาร์บอนสำรองเมื่อเกิดภาวะขาดแคลนสารอาหาร จากการศึกษา พบว่า มีจุลินทรีย์หลายชนิดที่สามารถสังเคราะห์ PHAs ไว้ในเซลล์ปริมาณสูง เช่น แบคทีเรียแกรมบวกพวก Bacillus megaterium สำหรับสถานการณ์ตลาด PHAs ในตลาดประเทศไทย อย่างที่ทราบกันดีว่า PHAs นั้นสามารถผลิตขึ้นได้จากจากการหมักของจุลินทรีย์ โดยใช้วัตถุดิบตามธรรมชาติ เช่น น้ำมันพืช น้ำตาล และแป้ง ซึ่งพืชชนิดดังกล่าวนั้นถือเป็นพืชเศรษกิจของไทยทั้งสิ้น จึงทำให้มีผลผลิตหรือแม้กระทั่งวัสดุเหลือใช้ในภาคเกษตรเป็นจำนวนมากถึง 160 ล้านตันต่อปี จึงสามารถนำมาผลิตพลาสติกชีวภาพนิด PHAs ได้เป็นอย่างดี ซึ่งเป็นทางเลือกที่น่าสนใจในการขยายศักยภาพการผลิตของตลาดพลาสติกชีวภาพ ซึ่งคาดมูลค่าตลาดมีโอกาสเติบโตสูงเฉลี่ยร้อยละ 40 ต่อปี หรือคิดเป็นมูลค่าตลาดประมาณ 1.9 หมื่นล้านบาท ในปี 2569
การศึกษาและวิเคราะห์ห่วงโซ่คุณค่า :
จากการวิเคราะห์ห่วงโซ่อุปทานของการผลิต PHAs ซึ่งเป็นพอลิเมอร์ชีวภาพที่สามารถย่อยสลายได้ทางชีวภาพและมีวัตถุดิบต้นน้ำจากชีวมวลซึ่งเป็นผลลิตที่เกิดจากภาคการเกษตร โดยสำหรับห่วงโซ่อุปทาน ในอุตสาหกรรมการผลิตพอลิเมอร์ชีวภาพชนิด PHAs สามารถจำแนกออกได้เป็น 3 ส่วนที่สำคัญ ดังนี้ • การได้มาซึ่งวัตถุดิบในการผลิต • การผลิต PHAs • การแปรรูปลิตภัณฑ์พลาสติก นอกจากนี้ ยังพบว่า PHAs เป็นวัตถุดิบสำคัญในการผลิตวัสดุอุปกรณ์การเกษตร การผลิตเส้นใยในอุตสาหกรรมสิ่งทอ เช่น วัสดุคล้ายไนลอน และไฟเบอร์ รวมถึงชิ้นส่วนอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์ที่มีความต้องการใช้ทั้งในประเทศและเป็นผลิตภัณฑ์เพื่อการส่งออก
เอกสารแนบ :