หน้าหลัก
บริการข้อมูล
นำเข้าส่ง - ส่งออก
อุตสาหกรรมพลาสติกชีวภาพ
อุตสาหกรรมเคมีชีวภาพ
อุตสาหกรรมชีวเภสัชภัณฑ์
ห้องปฏิบัติการ
กฎ ระเบียบ มาตรการและนโยบาย
กฎ ระเบียบ
นโยบาย มาตรการ
มาตรฐานผลิตภัณฑ์ชีวภาพ
ข่าวสารเคลื่อนไหวในอุตสาหกรรมชีวภาพ
บทวิเคราะห์
Value Chain
อ้อย
มันสำปะหลัง
ปาล์มน้ำมัน
ข้าว
ข้าวโพด
กัญชาและกัญชง
สับปะรด
กาแฟ
โกโก้
Supply Chain
การศึกษาห่วงโซ่อุปทานของผลิตภัณฑ์พลาสติกชีวภาพ
พอลิแลคติคแอซิด (PLA)
TPS
พอลิไฮดรอกซีอัลคาโนเอท (Polyhydroxyalkanoates หรือ PHAs)
พอลิบิวทิลีนอะดิเพทเทเรฟทาเลท (Polybutylene Adipate Terephthalate หรือ เรียกโดยย่อว่า PBAT)
การศึกษาห่วงโซ่อุปทานของผลิตภัณฑ์เคมีชีวภาพ
กรดอะมิโน
กรดอินทรีย์
เอนไซม์ (Enzyme)
การศึกษาห่วงโซ่อุปทานของผลิตภัณฑ์ชีวเภสัชภัณฑ์
วัคซีน
Monoclonal Antibody
Recombinant Hormones
ยาปฏิชีวนะ (antibiotic)
บทวิเคราะห์เชิงลึก
บทวิเคราะห์เชิงลึกเรื่อง การศึกษายุทธศาสตร์
บทวิเคราะห์เชิงลึก “แนวทางการส่งเสริมอุตสาหกรรมเทคโนโลยีชีวภาพไทย เตรียมพร้อมสู่การเป็นศูนย์กลางอุตสาหกรรมชีวภาพของอาเซียน”
บทวิเคราะห์เชิงลึก การศึกษาและวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์ชีวภาพที่มีความต้องการสูงในตลาดเอเชียและการส่งเสริมการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชีวภาพที่สอดรับกับความต้องการของตลาด
บทวิเคราะห์เชิงลึก การศึกษาข้อมูลการประเมินวัฏจักรชีวิตและการปล่อยก๊าซเรือนกระจกของผลิตภัณฑ์ชีวภาพเพื่อวางแนวทางการปรับปรุงการผลิตผลิตภัณฑ์ชีวภาพให้บรรลุตามเป้าหมาย ‘Net Zero’
บทวิเคราะห์เชิงลึกการเจาะตลาดอุตสาหกรรมพลาสติกชีวภาพสู่การรับรองผลิตภัณฑ์ฮาลาลของประเทศมุสลิมในอาเซียน
Green Tax Expense Approval Report
สมัครสมาชิก
เข้าสู่ระบบ
ห่วงโซ่อุปทานของผลิตภัณฑ์เป้าหมาย
Home
ห่วงโซ่อุปทานของผลิตภัณฑ์เป้าหมาย
read
ห่วงโซ่อุปทานของผลิตภัณฑ์เป้าหมาย
การศึกษาห่วงโซ่อุปทานของผลิตภัณฑ์เป้าหมาย
ห่วงโซ่อุปทาน (Supply Chain) :
Recombinant Hormones
>
การศึกษาข้อมูลทั่วไป :
ในปัจจุบันด้วยสภาพเศรษฐกิจ สังคม รวมถึงสิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไป ความเครียดจากการทำงาน มลพิษทางสิ่งแวดล้อม รวมไปถึงการเข้าถึงอาหารที่มีคุณภาพ ปัจจัยเหล่านี้ล้วนเป็นปัจจัยตัวกลางในการกำหนดผลลัพธ์ทางสุขภาพ โดยมีผลต่อการก่อให้เกิดโรคต่าง ๆ ที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการใช้ชีวิตหรือที่เรียกว่าโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (Non-communicable diseases: NCDs) เช่น โรคมะเร็ง โรคเบาหวาน โรคหลอดเลือดและหัวใจ เป็นต้น โดยองค์การอนามัยโลก นั้นยังระบุว่าในแต่ละปีนั้นมีคนเสียชีวิตจากโรคกลุ่มนี้ไม่ต่ำกว่า 41 ล้านคน หรือคิดเป็นร้อยละ 74 ของสาเหตุการตายทั่วโลก ด้วยเหตุนี้จึงผลโดยตรงต่อความต้องการในการเข้าถึงการรักษาที่เพิ่มสูงขึ้น ในขณะเดียวกันความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีในปัจจุบันก็เพิ่มขึ้นเช่นกัน จึงนำมาสู่การผลิต ยา ฮอร์โมนต่าง ๆ เพื่อใช้ในการรักษาโรคดังกล่าวในเชิงพาณิชย์มากขึ้น
การศึกษาและวิเคราะห์ห่วงโซ่คุณค่า :
ในห่วงโซ่อุปทานของการผลิตและพัฒนา Recombinant Hormone เริ่มต้นจากการวิจัยและพัฒนา ซึ่งได้กล่าวรายละเอียดในส่วนของการผลิต Recombinant Hormone ไว้ข้างต้น โดยเป็นการตัดต่อพันธุกรรม โดยนำยีนเป้าหมายตัดต่อไปยังแบคทีเรียนหรือสิ่งมีชีวิตเพื่อให้สิ่งมีชีวิตดังกล่าวผลิตฮอร์โมนเป้าหมายที่ต้องการขึ้นมา ซึ่งในขั้นต้นนี้ จำเป็นต้องอาศัยความรู้ความเชี่ยวชาญด้านการวิจัยทางพันธุวิศวกรรม (Genetic Engineering) รวมถึงเทคโนโลยีที่ช่วยสนับสนุนการทำวิจัยและพัฒนา ซึ่งปัจจุบันการพัฒนา Recombinant Hormone มีการขยายตัวเพิ่มขึ้น ตามความต้องการของตลาดและการเพิ่มขึ้นของจำนวนผู้ป่วยที่มีความพบพร่องทางฮอร์โมน ทำให้ร่างกายไม่สามารถผลิตฮอร์โมนสำคัญที่จำเป็นได้ ส่งผลให้เกิดความต้องการฮอร์โมนทดแทนเพื่อช่วยฟื้นฟูระบบการทำงานของร่างกาย การซ่อมแซมส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย เป็นต้น โดยหลังจากการศึกษาวิจัยจนได้ผลลัพธ์ที่ดีแล้ว จะได้มีการขยายปริมาณการผลิตจากระดับห้องปฏิบัติการไปสู่ระดับอุตสาหกรรมเพื่อให้มีปริมาณการผลิตที่เพียงพอต่อความต้องการของตลาด ซึ่ง Recombinant Hormone ที่มีการผลิตขึ้น จะถูกกระจายไปยังร้านขายส่งยา ร้านจำหน่ายยา รวมถึงโรงพยาบาลต่าง ๆ ผ่านกระบวนการขนส่งที่จำเป็นต้องมีการควบคุมสภาวะที่เหมาะสม เพื่อควบคุมคุณภาพและประสิทธิภาพของผลิตภัณฑ์ก่อนถึงผู้ป่วยหรือกลุ่มผู้บริโภคเป้าหมาย
เอกสารแนบ :